ข้อมูลสมุนไพร หมักม่อ รายละเอียด ชื่อตามท้องถิ่นของ หมักม่อ, ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ของ หมักม่อ, สรรพคุณทางยาของ หมักม่อ และอื่นๆ....
ชื่อเครื่องยา | หมักม่อ |
ชื่ออื่นๆของเครื่องยา | หม้อ |
ได้จาก | เนื้อไม้ แก่น |
ชื่อพืชที่ให้เครื่องยา | หมักม่อ |
ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา) | ต้นขี้หมู(บุรีรัมย์) หม่อ หม้อ |
ชื่อวิทยาศาสตร์ | Rothmannia wittii (Craib.) Bremek. |
ชื่อพ้อง | Randia wittii |
ชื่อวงศ์ | Rubiaceae |
ลักษณะภายนอกของเครื่องยา:
เปลือกสีน้ำตาลอมดำ แก่น รสสุขุม (จืดมันฝาดหวานร้อน)
เครื่องยา หมักม่อ
เครื่องยา หมักม่อ
เครื่องยา หมักม่อ
ลักษณะทางกายภาพและเคมีที่ดี:
ไม่มีข้อมูล
สรรพคุณ:
ตำรายาไทย: ใช้ แก่น รสสุขุม (จืดมันฝาดหวานร้อน) ปรุงยาต้มดื่มแก้ไข้ ถ่ายเส้นเอ็น แก้อัมพฤกษ์อัมพาต เหน็บชา ถ่ายพิษในตับ ขับปัสสาวะ แก้โรคทางเดินปัสสาวะ
ยาพื้นบ้าน: ใช้ แก่นหรือราก ต้มน้ำดื่มแก้ไข้ ลำต้น ผสมกับสมุนไพรอื่น ต้มน้ำดื่มรักษากามโรค
ตำรายาพื้นบ้านอำนาจเจริญ: ใช้ แก่น นำมาต้มกินแก้ท้องผูก ต้มดื่มตอนที่อยู่ไฟ เป็นสมุนไพรแก้เส้นเอ็น
รูปแบบและขนาดวิธีใช้ยา:
ไม่มีข้อมูล
องค์ประกอบทางเคมี:
ไม่มีข้อมูล
การศึกษาทางเภสัชวิทยา:
ไม่มีข้อมูล
การศึกษาทางคลินิก:
ไม่มีข้อมูล
การศึกษาทางพิษวิทยา:
ไม่มีข้อมูล
ค้นหาข้อมูลพืชที่ให้เครื่องยา : www.phargarden.com
ตัวอย่างพรรณไม้แห้ง : www.thaiherbarium.com
ข้อมูลเพิ่มเติม
หมักม่อ การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ อาณาจักร: Plantae ไม่ได้จัดลำดับ: Angiosperms ไม่ได้จัดลำดับ: Eudicots ไม่ได้จัดลำดับ: Asterids อันดับ: Gentianales วงศ์: Rubiaceae สกุล: Rothmannia สปีชีส์: R. wittii ชื่อทวินาม Rothmannia wittii
หมักม่อ ชื่อวิทยาศาสตร์: Rothmannia wittii บุรีรัมย์เรียกต้นขี้หมู เป็นพืชในสกุลสะแล่งหอมไก๋ วงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ยืนต้น เปลือกสีน้ำตาลอมดำ ใบเดี่ยว ดอกออกเป็นกระจุก ปลายยอดสีขาวนวล ช่อละ 1-12 ดอก รูประฆัง ปลายแยกเป็น 5 กลีบ กลีบดอกด้านในมีจุดประสีม่วงแดง ออกดอกพร้อมกันทั้งต้น บานนานประมาณ 1 สัปดาห์ มีกลิ่นหอมอ่อนตอนกลางคืน ผลกลม ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม – เมษายน พบครั้งแรกที่จ.นครราชสีมา ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่พระยาวินิจวนันดร
ใช้เป็นไม้ประดับ และมีฤทธิ์ทางยาสมุนไพร ใช้ แก่น ปรุงยาต้มดื่มแก้ไข้ ถ่ายเส้นเอ็น แก้อัมพฤกษ์ อัมพาต เหน็บชา ถ่ายพิษในตับ ขับปัสสาวะ แก้โรคทางเดินปัสสาวะ ใช้ แก่นหรือราก ต้มน้ำดื่มแก้ไข้ ลำต้น ผสมกับสมุนไพรอื่น ต้มน้ำดื่มรักษากามโรค ทางจังหวัดอำนาจเจริญ ใช้ แก่น นำมาต้มกินแก้ท้องผูก ต้มดื่มตอนที่อยู่ไฟ[ 1] อ้างอิง[ แก้ ] ปิยะ เฉลิมกลิ่น จิรพันธุ์ ศรีทองกุล และอนันต์ พิริยะภัทรกิจ. พรรณไม้ที่พบครั้งแรกในประเทศไทย. กทม. โครงการพัฒนาองค์ความรู้และศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพ. 2551 หน้า 160 ↑ หมักม่อ-ฐานข้อมูลเครื่องยา เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=หมักม่อ&oldid=7870750"
.
กระดอม
กระดอม ชื่อเครื่องยากระดอม ชื่ออื่นๆของเครื่องยาลูกกระดอม ได้จากผลอ่อนกระดอม ชื่อพืชที่ให้เครื่องยากระดอม ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา)ขี้กาดง ขี้กาน้อย(สระบุรี) ขี้กาเหลี่ยม (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ขี้กาลาย (นครราชสีมา) ผักแคบป่า (น่าน) มะนอยจา (ภาคเหนือ) มะนอยหก มะนอยหกฟ้า (แม่ฮ่องสอน) ผักขาว (เชียงใหม่) ดอม (นครศรีธรรมราช) ชื่อวิทยาศาสตร์Gymnopetalum chinensis (Lour.) Merr. ชื่อพ้องGymnopetalum cochinchinense ชื่อวงศ์Cucurbitaceae ลักษณะภายนอกขอ...
ขมิ้นชัน
ขมิ้นชัน ชื่อเครื่องยาขมิ้นชัน ชื่ออื่นๆของเครื่องยา ได้จากเหง้าสด เหง้าแห้ง ชื่อพืชที่ให้เครื่องยาขมิ้นชัน ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา)ขมิ้น(ทั่วไป) ขมิ้นแกง ขมิ้นหยวก ขี้มิ้น ตายอ สะยอ หมิ้น(ภาคใต้) ขมิ้นหัว(เชียงใหม่) ชื่อวิทยาศาสตร์Curcuma longa L. ชื่อพ้องAmomum curcuma Jacq., Curcuma brog Valeton, Curcuma domestica Valeton, Curcuma ochrorhiza Valeton, Curcuma soloensis Valeton, Curcuma tinctoria Guibourt, Stissera curcuma Giseke, Stissera curcuma ชื่อวง...
กระแจะ
กระแจะ ชื่อเครื่องยากระแจะ ชื่ออื่นๆของเครื่องยาพญายา ได้จากเนื้อไม้ ชื่อพืชที่ให้เครื่องยากระแจะ ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา)พญายา(กลาง ราชบุรี) ขะแจะ (เหนือ) ตุมตัง (ตะวันออกเฉียงเหนือ) ตะนาว (มอญ)พุดไทร ชะแจะ กระแจะจัน พินิยา ฮางแกง ชื่อวิทยาศาสตร์Hesperethusa crenulata (Roxb.) Roem. ชื่อพ้องNaringi crenulata (Roxb.) Nicolson., Limonia crenulata ชื่อวงศ์Rutaceae ลักษณะภายนอกของเครื่องยา: &...
ผักเสี้ยนผี
ผักเสี้ยนผี ชื่อเครื่องยาผักเสี้ยนผี ชื่ออื่นๆของเครื่องยา ได้จากทั้งต้น ชื่อพืชที่ให้เครื่องยาผักเสี้ยนผี ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา)ส้มเสี้ยนผี (เหนือ), ผักเสี้ยนตัวเมีย, ไปนิพพานไม่รู้กลับ ชื่อวิทยาศาสตร์Cleome viscosa L. ชื่อพ้องArivela viscosa (L.) Raf., Cleome acutifolia Elmer, Cleome icosandra L., Polanisia icosandra (L.) Wight & Arn., Polanisia microphylla Eichler, Polanisia viscosa (L.) Blume, Sinapistrum viscosum ชื่อวงศ์Cleomaceae ลั...
กำลังเสือโคร่ง
กำลังเสือโคร่ง ชื่อเครื่องยากำลังเสือโคร่ง ชื่ออื่นๆของเครื่องยา ได้จากลำต้น เนื้อไม้ แก่น ชื่อพืชที่ให้เครื่องยา ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา)ขวากไก่ หนามเข็ม (ชัยภูมิ) ขอเบ็ด (หนองคาย) ขี้แรด (ปราจีนบุรี) เขี้ยวงู (ชุมพร) ตึ่ง เครือดำตัวแม่ (ลำปาง)เบน เบนขอ (ตะวันออกเฉียงเหนือ) เล็บครุฑ (จันทบุรี) เล็บรอก (พัทลุง) หมากตาไก้ (เลย) ชื่อวิทยาศาสตร์Strychnos axillaris Colebr. ชื่อพ้องStrychnos chloropetala A.W. Hill., Strychnos plumosa ชื่อวงศ์Strychnaceae (Logana...
ย่านางแดง
ย่านางแดง ชื่อเครื่องยาย่านางแดง ชื่ออื่นๆของเครื่องยา ได้จากเถา ราก ใบ ชื่อพืชที่ให้เครื่องยาย่านางแดง ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา)สยาน (ตาก ลำปาง) หญ้านางแดง (ตะวันออกเฉียงเหนือ) เครือขยัน (เหนือ) เถาขยัน ชื่อวิทยาศาสตร์Bauhinia strychnifolia Craib. ชื่อพ้อง ชื่อวงศ์Leguminosae (Fabaceae)-Caesalpinioideae ลักษณะภายนอกของเครื่องยา: ไม้เถาเนื้อแข็ง เถาขนาดกลางๆมักแบนมีร่องตรงกลาง ผิว...
จอง
จอง ชื่อเครื่องยาจอง ชื่ออื่นๆของเครื่องยา ได้จากผลแก่แห้ง ชื่อพืชที่ให้เครื่องยาจอง ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา)จอง (อุบลราชธานี), สำรอง (จันทบุรี ตราด), พุงทะลาย ชื่อวิทยาศาสตร์Scaphium scaphigerum (G.Don) Guib. & Planch. ชื่อพ้องScaphium macropodum ชื่อวงศ์Sterculiaceae ลักษณะภายนอกของเครื่องยา: ผลเป็นผลแห้งรูปกระสวย เมล็ดรีสีน้ำตาลขนาดกว้างประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร ยาว 2-3 เซนติเมตร เ...
โป๊ยกั๊ก
โป๊ยกั๊ก ชื่อเครื่องยาโป๊ยกั๊ก ชื่ออื่นๆของเครื่องยาจันทร์แปดกลีบ (Chinese star anise) ได้จากผลแก่ ชื่อพืชที่ให้เครื่องยาโป๊ยกั๊ก ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา) ชื่อวิทยาศาสตร์Illicium verum Hook. f. ชื่อพ้อง ชื่อวงศ์Illiciaceae ลักษณะภายนอกของเครื่องยา: ผลเป็นกลีบโดยรอบ ทำให้มองเห็นเป็นรูปดาว มี 5-13 พู แต่ที่พบมากมักเป็น 8 พู ผลแห้งมีกลีบหนาแข็ง สีน้ำตาลเข้ม กว้าง 0.3-0.5 เซนติเมตร ยาว 1-2 เ...
เทียนดำ
เทียนดำ ชื่อเครื่องยาเทียนดำ ชื่ออื่นๆของเครื่องยา ได้จากเมล็ด ชื่อพืชที่ให้เครื่องยาเทียนดำ ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา) ชื่อวิทยาศาสตร์Nigella sativa L. ชื่อพ้องNigella cretica Mill. ชื่อวงศ์Ranunculaceae ลักษณะภายนอกของเครื่องยา: เมล็ดรูปสามเหลี่ยม ถึงห้าเหลี่ยม สีดำ เนื้อในสีขาว ขนาดกว้าง 1.4-1.8 มิลลิเมตร ยาว 2.5-3.0 มิลลิเมตร เมล็ดแก่แห้ง มีสีดำสนิท ผิวนอกขรุขระ ไม่ม...
เจอข้างทางให้รีบเก็บ หมักม่อ สมุนไพรหายากที่ตามหามานาน สรรพคุณใช้ลูกดองเหล้าบำรุงกำลังชั้น1
Viewหามาปลูกเลย หมักหม้อ เป็นสมุนไพรออกดอกหอมสวยมากมายเป็นทั้งไม้ประดับและยาได้เลย
Viewใช้ดองสุราเป็นสมุนไพรช่วยบำรุงกำลัง บำรุงร่างกาย หมักม่อ
View