ข้อมูลเพิ่มเติม
สมุนไพร ลำดวน
ข้อมูล ลำดวน จากสารานุกรมวิกิพีเดีย
ลำดวน ลำดวนที่สวนนงนุช ประเทศไทย การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ อาณาจักร: พืช เคลด: พืชมีท่อลำเลียง เคลด: พืชดอก เคลด: แมกโนลิด อันดับ: อันดับจำปา วงศ์: วงศ์กระดังงา สกุล: Melodorum
(Lour.) Merr. สปีชีส์: Melodorum fruticosum ชื่อทวินาม Melodorum fruticosum
(Lour.) Merr.
ลำดวน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Melodorum fruticosum Lour.) มีชื่อตามภาษาท้องถิ่นว่า หอมนวล (ภาคเหนือ) ลำดวน (ภาคอีสาน) เป็นไม้ดอกชนิดหนึ่งมีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดศรีสะเกษ นอกจากนี้ ดอกหอมนวลยังเป็นดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง[1] และมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษด้วย[2] ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ลำดวนเป็นไม้ต้นขนาดกลาง สูง 5 - 20 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดรูปกรวย หนาทึบ ลำต้นเปลาตรง มีเปลือกสีน้ำตาล แตกขรุขระเป็นสะเก็ด ใบเดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก กว้าง 2.5-4 เซนติเมตร ยาว 5-11.5 เซนติเมตร ปลายใบแหลมโคนใบสอบหรือมน ดอกมีสีนวลกลิ่นหอม ออกเดี่ยวตามซอกใบที่ปลายกิ่ง กลีบดอกหนาและแข็ง กลีบดอก ชั้นนอก 3 กลีบแผ่ออก ชั้นใน 3 กลีบ หุบเข้าหากัน เมื่อบานเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร ลักษณะผลเป็นผลกลุ่ม ทรงกลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.6 เซนติเมตร สีเขียว เมื่อสุกสีดำ รสหวานอมเปรี้ยว สัญลักษณ์ประจำจังหวัด จังหวัดศรีสะเกษ สัญลักษณ์ประจำสถานศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ กรุงเทพมหานคร ดูเพิ่ม รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด อ้างอิง ↑ "ประวัติของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-05-14. สืบค้นเมื่อ 2011-08-11 . ↑ ดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ[ลิงก์เสีย] สารานุกรมสมุนไพร รวมหลักเภสัชกรรมไทย ISBN 974-277-385-8 พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2540 แหล่งข้อมูลอื่น Thailand, Sanook Online Ltd. "ลำดวน_(Melodorum_fruticosum_Lour.) (คืออะไร หมายถึง ความหมาย) - Sanook! กูรู". guru.sanook.com. (ในภาษาไทย) "ThaiHerb : Add-Edit". February 7, 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-02-07. (ในภาษาไทย) ดคกพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด ภาคเหนือ กาซะลองคำ (เชียงราย) ทองกวาว (เชียงใหม่) กำลังเสือโคร่ง (น่าน) สารภี (พะเยา) ยมหิน (แพร่) จั่น (แม่ฮ่องสอน) กระเชา (ลำปาง) ก้ามปู (ลำพูน) สัก (อุตรดิตถ์) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มะหาด (กาฬสินธุ์) กัลปพฤกษ์ (ขอนแก่น) ขี้เหล็ก (ชัยภูมิ) กันเกรา (นครพนม) สาธร (นครราชสีมา) กาฬพฤกษ์ (บุรีรัมย์) พฤกษ์ (มหาสารคาม) ตานเหลือง (มุกดาหาร) กระบาก (ยโสธร) กระบก (ร้อยเอ็ด) สนสามใบ (เลย) ลำดวน (ศรีสะเกษ) อินทนิล (สกลนคร) มะค่าแต้ (สุรินทร์) ชิงชัน (หนองคาย) พะยูง (หนองบัวลำภู) ตะเคียนหิน (อำนาจเจริญ) รัง (อุดรธานี) ยางนา (อุบลราชธานี) ภาคกลาง ไทรย้อยใบแหลม (กรุงเทพมหานคร) สีเสียดแก่น (กำแพงเพชร) มะตูม (ชัยนาท) สุพรรณิการ์ (นครนายก) จันทน์ชะมดชนิด Mansonia gagei (นครปฐม) เสลา (นครสวรรค์) นนทรี (นนทบุรี) ทองหลางลาย (ปทุมธานี) หมัน (พระนครศรีอยุธยา) บุนนาค (พิจิตร) ปีบ (พิษณุโลก) มะขาม (เพชรบูรณ์) พิกุล (ลพบุรี) โพทะเล (สมุทรปราการ) จิกเล (สมุทรสงคราม) พญาสัตบรรณ (สมุทรสาคร) ตะแบกนา (สระบุรี) มะกล่ำตาช้าง (สิงห์บุรี) มะค่า (สุโขทัย) มะเกลือ (สุพรรณบุรี) มะพลับ (อ่างทอง) สะเดา (อุทัยธานี) ภาคตะวันออก จัน (จันทบุรี) อะราง (ฉะเชิงเทรา) ประดู่ (ชลบุรี) หูกวาง (ตราด) โพ (ปราจีนบุรี) กระทิง (ระยอง) มะขามป้อม (สระแก้ว) ภาคตะวันตก ขานาง (กาญจนบุรี) แดง (ตาก) เกด (ประจวบคีรีขันธ์) หว้า (เพชรบุรี) โมกมัน (ราชบุรี) ภาคใต้ ทุ้งฟ้า (กระบี่) มะเดื่ออุทุมพร (ชุมพร) ศรีตรังชนิด Jacaranda obtusifolia (ตรัง) แซะ (นครศรีธรรมราช) ตะเคียนชันตาแมว (นราธิวาส) ตะเคียน (ปัตตานี) เทพทาโร (พังงา) พะยอม (พัทลุง) ประดู่บ้าน (ภูเก็ต) อโศกเหลือง (ยะลา) อบเชย (ระนอง) สะเดาเทียม (สงขลา) กระซิก (สตูล) เคี่ยม (สุราษฎร์ธานี) ต้นไม้ประจำจังหวัดนครปฐมคือจัน · ต้นไม้ประจำจังหวัดบุรีรัมย์คือแปะ · ต้นไม้ประจำจังหวัดยโสธรคือยางนา · ต้นไม้ประจำจังหวัดสุโขทัยคือตาล · ต้นไม้ประจำจังหวัดสุรินทร์คือกันเกรา ·
ต้นไม้ประจำจังหวัดระนองคืออินทนิล · ต้นไม้ประจำจังหวัดระยองคือประดู่ · จังหวัดบึงกาฬไม่มีพันธุ์ไม้มงคลพระราชทาน ต้นไม้ประจำจังหวัดคือสิรินธรวัลลี ดคกดอกไม้ประจำจังหวัดของไทย ภาคเหนือ พวงแสด (เชียงราย) ทองกวาว (เชียงใหม่, ลำพูน) เสี้ยวดอกขาว (น่าน) สารภี (พะเยา) ยมหิน (แพร่) บัวตอง (แม่ฮ่องสอน) พุทธรักษาญี่ปุ่น (ลำปาง) ประดู่บ้าน (อุตรดิตถ์) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พะยอม (กาฬสินธุ์) ราชพฤกษ์ (ขอนแก่น) ปทุมมา (ชัยภูมิ) กันเกรา (นครพนม, สุรินทร์) สาธร (นครราชสีมา) สิรินธรวัลลี (บึงกาฬ) สุพรรณิการ์ (บุรีรัมย์) ลั่นทมขาว (มหาสารคาม) ตานเหลือง (มุกดาหาร) บัวแดง (ยโสธร) อินทนิลบก (ร้อยเอ็ด) ลำดวน (ศรีสะเกษ) อินทนิล (สกลนคร) ชิงชัน (หนองคาย) บัวหลวง (หนองบัวลำภู) ทองกวาวเหลือง (อำนาจเจริญ) ทองกวาว (อุดรธานี) บัว (อุบลราชธานี) ภาคกลาง พิกุล (กำแพงเพชร, ลพบุรี) ชัยพฤกษ์ (ชัยนาท) สุพรรณิการ์ (นครนายก, สระบุรี, สุพรรณบุรี, อุทัยธานี) เสลา (นครสวรรค์) นนทรี (นนทบุรี, พิษณุโลก) บัวหลวง (ปทุมธานี, พิจิตร, สุโขทัย) โสน (พระนครศรีอยุธยา) มะขาม (เพชรบูรณ์) ดาวเรือง (สมุทรปราการ) จิกเล (สมุทรสงคราม) ภาคตะวันออก เหลืองจันทบูร (จันทบุรี) นนทรี (ฉะเชิงเทรา) ประดู่ (ชลบุรี, ระยอง) กฤษณาชนิด Aquilaria subintegra (ตราด) ปีบ (ปราจีนบุรี) แก้ว (สระแก้ว) ภาคตะวันตก กาญจนิการ์ (กาญจนบุรี) เสี้ยวดอกขาว (ตาก) เกด (ประจวบคีรีขันธ์) กัลปพฤกษ์ (ราชบุรี) ภาคใต้ ทุ้งฟ้า (กระบี่) พุทธรักษา (ชุมพร) ศรีตรังชนิด Jacaranda obtusifolia (ตรัง) ราชพฤกษ์ (นครศรีธรรมราช) บานบุรี (นราธิวาส) ชบา (ปัตตานี) จำปูน (พังงา) พะยอม (พัทลุง) เฟื่องฟ้า (ภูเก็ต, สงขลา) พิกุล (ยะลา) เอื้องเงินหลวง (ระนอง) กาหลง (สตูล) บัวผุด (สุราษฎร์ธานี) กรุงเทพมหานคร จังหวัดนครปฐม จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดเลย จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสิงห์บุรี และจังหวัดอ่างทองไม่มีดอกไม้ประจำจังหวัด ดคกพรรณไม้ดอกไม้ประดับ ที่กล่าวถึงในเพลงอุทยานดอกไม้ เรียงตามลำดับการกล่าวถึง ผกา จำปา จำปี กุหลาบ ราตรี พะยอม อังกาบ กรรณิการ์ ลำดวน นมแมว ซ่อนกลิ่น ยี่โถ ชงโค มณฑา สายหยุด เฟื่องฟ้า ชบา สร้อยทอง บานบุรี ยี่สุ่น ขจร ประดู่ พุดซ้อน พลับพลึง หงอนไก่ พิกุล ทานตะวัน รักเร่ กาหลง ประยงค์ พวงทอง บานชื่น พุทธชาด พวงชมพู กระดังงา รสสุคนธ์ บุนนาค นางแย้ม สารภี อุบล จันทน์กะพ้อ ผีเสื้อ เล็บมือนาง พุดตาน กล้วยไม้ ดาวเรือง อัญชัน ยี่หุบ มะลิวัลย์ การแยกแยะหน่วยอนุกรมวิธาน Wikidata: Q6577913 Wikispecies: Melodorum fruticosum EoL: 304098 GBIF: 5407492 iNaturalist: 431306 IPNI: 73842-1 NCBI: 174966 Plant List: kew-2364658 POWO: urn:lsid:ipni.org:names:73842-1 Tropicos: 1600929
บทความพีชนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูลดคก เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=ลำดวน&oldid=10739305" .
สมุนไพรอื่นๆ
94
เพกา
เพกา ชื่อเครื่องยาเพกา ชื่ออื่นๆของเครื่องยา ได้จากเปลือกต้น ชื่อพืชที่ให้เครื่องยาเพกา ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา)ลิ้นฟ้า(เลย) ลิ้นก้าง ลิ้นช้าง(ไทยใหญ่) เพกา (ภาคกลาง) มะลิดไม้ มะลิ้นไม้ ลิดไม้ (ภาคเหนือ) หมากลิ้นก้าง หมากลิ้นซ้าง (ฉาน ภาคเหนือ) กาโด้โด้ง (กะเหรี่ยง กาญจนบุรี) ด๊อกก๊ะ ดอก๊ะ ดุแก (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) เบโก (มาเลย์ นราธิวาส) ชื่อวิทยาศาสตร์Oroxylum indicum (L.) Kurz ชื่อพ้องArthrophyllum ceylanicum Miq. Arthrophyllum reticulatum Blume ex Miq. Bi...
Read More
106
มะลิ
มะลิ ชื่อเครื่องยามะลิ ชื่ออื่นๆของเครื่องยา ได้จากดอกมะลิลา ชื่อพืชที่ให้เครื่องยามะลิลา ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา) ชื่อวิทยาศาสตร์Jasminum sambac Ait. ชื่อพ้อง ชื่อวงศ์Oleaceae ลักษณะภายนอกของเครื่องยา: ดอกแห้งสีน้ำตาล กลีบดอกเป็นหลอดยาว 1-2 เซนติเมตร ปลายแยกเป็น 5-8 กลีบ เกสรตัวผู้มี 2 อัน กลิ่นหอมเย็น มีกลิ่นเฉพาะตัว รสขม เครื่องยา ดอกมะลิลา &nbs...
Read More
68
เทียนดำ
เทียนดำ ชื่อเครื่องยาเทียนดำ ชื่ออื่นๆของเครื่องยา ได้จากเมล็ด ชื่อพืชที่ให้เครื่องยาเทียนดำ ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา) ชื่อวิทยาศาสตร์Nigella sativa L. ชื่อพ้องNigella cretica Mill. ชื่อวงศ์Ranunculaceae ลักษณะภายนอกของเครื่องยา: เมล็ดรูปสามเหลี่ยม ถึงห้าเหลี่ยม สีดำ เนื้อในสีขาว ขนาดกว้าง 1.4-1.8 มิลลิเมตร ยาว 2.5-3.0 มิลลิเมตร เมล็ดแก่แห้ง มีสีดำสนิท ผิวนอกขรุขระ ไม่ม...
Read More
201
แห้วหมู
แห้วหมู ชื่อเครื่องยาแห้วหมู ชื่ออื่นๆของเครื่องยาหญ้าแห้วหมู ได้จากหัวใต้ดิน ชื่อพืชที่ให้เครื่องยาแห้วหมู ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา)หญ้าขนหมู (แม่ฮ่องสอน) หญ้าแห้วหมู หัวแห้วหมู หญ้ามะนิ่วหมู ชื่อวิทยาศาสตร์Cyperus rotundus L. ชื่อพ้องChlorocyperus rotundus (L.) Palla, Chlorocyperus salaam (L.) Hayek, Schoenus tuberosusensis Palla, Cyperus agrestis Willd. ex Spreng. & Link, Cyperus arabicus Ehrenb. ex Boeckeler, Cyperus bicolor Vahl, Cyperus bifax C.B.Clarke,...
Read More
182
ช้าพลู
ช้าพลู ชื่อเครื่องยาช้าพลู ชื่ออื่นๆของเครื่องยา ได้จากราก ใบ ทั้งต้น ชื่อพืชที่ให้เครื่องยาช้าพลู ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา)ผักอีเลิด (อีสาน) นมวา (ภาคใต้) ผักปูนา ผักพลูนก พลูลิง ผักอีไร (เหนือ) เย่เท้ย (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน), ผักแค ชื่อวิทยาศาสตร์Piper sarmentosum Roxb. ชื่อพ้องPiper albispicum C. DC., P. baronii C. DC., P. brevicaule C. DC., P. lolot C. DC., P. pierrei C. DC., P. saigonense ชื่อวงศ์Piperaceae ลักษณะภายนอกของเครื่องยา: ...
Read More
132
สมอไทย
สมอไทย ชื่อเครื่องยาสมอไทย ชื่ออื่นๆของเครื่องยาสมอ ได้จากผล ชื่อพืชที่ให้เครื่องยาสมอไทย ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา)กกส้มมอ สมอ มาแน่ สมออัพยา หมากแน่ะ ชื่อวิทยาศาสตร์Terminalia chebula Retz. ชื่อพ้องT. acuta Walp., T. gangetica Roxb., T. parviflora Thwaites, T. reticulata Roth, T. zeylanica Van Heurck & Müll. Arg., Buceras chebula (Retz.) Lyons, Myrobalanus chebula (Retz.) Gaertn., M. gangetica ชื่อวงศ์Combretaceae ลักษณะภายนอกของเครื่องยา &...
Read More
7
กระแตไต่ไม้
กระแตไต่ไม้ ชื่อเครื่องยากระแตไต่ไม้ ชื่ออื่นๆของเครื่องยา ได้จากเหง้า ชื่อพืชที่ให้เครื่องยากระแตไต่ไม้ ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา)ฮำฮอก (อุบลราชธานี); ใบหูช้าง สไบนาง (กาญจนบุรี); กูดขาฮอก กูดอ้อม กูดไม้ (เหนือ); กระปรอกว่าว (ประจวบคีรีขันธ์ ปราจีนบุรี),หัวว่าว (ประจวบคีรีขันธ์);หว่าว (ปน) สะโมง กาบหูช้าง หัวว่าว ชื่อวิทยาศาสตร์Drynaria quercifolia (L.) J.Sm. ชื่อพ้อง ชื่อวงศ์Polypodiaceae ลักษณะภายนอกของเครื่องยา: &n...
Read More
75
บวบลม
บวบลม ชื่อเครื่องยาบวบลม ชื่ออื่นๆของเครื่องยาจุกโรหินี ได้จากใบ ราก ทั้งต้น ชื่อพืชที่ให้เครื่องยาบวบลม ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา)จุกโรหินี กล้วยไม้ (เหนือ) บวบลม (นครราชสีมา, อุบลราชธานี) เถาพุงปลา (ภาคตะวันออก ระยอง) พุงปลาช่อน (กลาง) นมตำไร(เขมร) ชื่อวิทยาศาสตร์Dischidia major (Vahl) Merr. ชื่อพ้องDischidia rafflesiana ชื่อวงศ์Asclepiadaceae ลักษณะภายนอกของเครื่องยา: ใบเดี่ยวเรีย...
Read More
200
ทับทิม
ทับทิม ชื่อเครื่องยาทับทิม ชื่ออื่นๆของเครื่องยา ได้จากใบ ชื่อพืชที่ให้เครื่องยาทับทิม ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา)มะเก๊า มะก่องแก้ว หมากจัง (เหนือ) พิลาขาว (น่าน) พิลา (หนองคาย) ชื่อวิทยาศาสตร์Punica granatum L. ชื่อพ้องPunica nana ชื่อวงศ์Lythraceae ลักษณะภายนอกของเครื่องยา: ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานแกมรูปหอกกลับ ปลายแหลม ยาว 2-9 เซนติเมตร กว้าง 1-2 เซนติเมตร โคนใบสอบ ส่วนที่ค่อนไปทาง...
Read More