Menu

ข่าวความเคลื่อนไหว ผลวิจัยจากการทดลอง ของ สมุนไพร ชนิดต่างๆ

ฤทธิ์ป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารของใบมะตูม

ศึกษาฤทธิ์ป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารของสารสกัดเอทานอลจากใบมะตูม (Aegle marmelos

Int J of Res in Pharmacology & Pharmacotherapeutics. 2019;8(1):16-22.

ข้อมูลอ้างอิงจาก : ข่าวความเคลื่อนไหวสมุนไพร : สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

1

2

3

4

5

6

บทความอื่นๆ

959

ฤทธิ์ลดการอักเสบของน้ำมันหอมระเหยจากแมงกะแซง
ฤทธิ์ลดการอักเสบของน้ำมันหอมระเหยจากแมงกะแซงการทดสอบฤทธิ์ลดการอักเสบของน้ำมันหอมระเหยจากใบแมงกะแซง และสารที่เป็นองค์ประกอบหลักในน้ำมันหอมระเหย ได้แก่ linalool และ 1,8-cineole ในหนูเม้าส์ที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดข้อเข่าอักเสบและอาการบวมที่อุ้งเท้าด้วย zymosan พบว่าน้ำมันหอมระเหย และสารทั้ง 2 ชนิด ขนาด 50, 150, และ 300 มก./กก. มีฤทธิ์ยับยั้งการเคลื่อนของเม็ดเลือดขาวเข้าไปในโพรงข้อต่อซินโนเวียล (synovial space) น้ำมันหอมระเหย ขนาด 150 มก./กก. linalool และ 1,8-cineole ขนาด 300 มก./กก. มีฤทธิ์ลดอาการบว...

1551

ผลของการใช้น้ำยาบ้วนปากสารสกัดลูกยอต่ออาการเหงือกอักเสบ
ผลของการใช้น้ำยาบ้วนปากสารสกัดลูกยอต่ออาการเหงือกอักเสบศึกษาผลของการใช้น้ำยาบ้วนปากสารสกัด 96%เอทานอลจากลูกยอ (Morinda citrifolia L.) ในผู้ป่วยโรคเหงือกอักเสบจำนวน 15 คน โดยแบ่งผู้ป่วยออกเป็น 3 กลุ่ม (กลุ่มละ 5 คน) กลุ่มที่ 1 ให้ผู้ป่วยบ้วนปากด้วยน้ำยาบ้วนปากที่มีส่วนผสมของสารสกัดลูกยอเข้มข้น 5% กลุ่มที่ 2 ให้ผู้ป่วยบ้วนปากด้วยน้ำยาบ้วนปาก chlorhexidine 0.1% และกลุ่มที่ 3 ให้ผู้ป่วยบ้วนปากด้วยน้ำยาบ้วนปากที่มีส่วนผสมของสารสกัดลูกยอและ chlorhexidine เข้มข้น 2.5 และ 0.05% ตามลำดับ ให้ผู้ป่วยทุกกลุ...

1135

ผลของการรับประทานน้ำมันมะกอก
ผลของการรับประทานน้ำมันมะกอก บริสุทธิ์พิเศษ (extra virgin olive oil) และน้ำมันปลาต่อระดับไขมันในเลือดผู้ป่วย metabolic syndromeศึกษาผลของการรับประทานน้ำมันมะกอกบริสุทธิ์พิเศษ (extra virgin olive oil) และน้ำมันปลาต่อระดับไขมันในเลือดผู้ป่วยในกลุ่มภาวะ metabolic syndrome คือมีความผิดปกติที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด จำนวน 102 คน (ชาย 21, หญิง 81) อายุเฉลี่ย 51.45 ± 8.27 ปี โดยแบ่งผู้ป่วยออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 รับประทานอาหารปกติ (กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 เสริมอาหารด้วย...

13

สารสกัดจากสมุนไพรให้ผลต่อต้านอาการท้องเดิน
สารสกัดจากสมุนไพรให้ผลต่อต้านอาการท้องเดิน การศึกษาผลของสารสกัดเอธานอลจากสมุนไพร 4 ชนิดคือ นิโครธ (Ficus bengalensis) หว้า (Eugenia jamboland) มะเดื่ออุทุมพร (Ficus racemosa) และ Leucas lavandulaefolia พบว่าสมุนไพรทั้งสี่ชนิดให้ผลต่อต้านอาการท้องเดิน เมื่อทดลองในหนูขาวด้วยวิธีการต่างๆ ได้แก่ การเหนี่ยวนำให้เกิดอาการท้องเดินโดยใช้น้ำมันละหุ่ง PGE2 induced enteropooling และ charcoal meal testJ Ethnopharm 1998;60:85-9 ...

341

ผลเพิ่มความไวต่ออินซูอินในหนูอ้วนของสาร
ผลเพิ่มความไวต่ออินซูอินในหนูอ้วนของสาร myricetin จากชะมดต้นในหนูอ้วนที่มีภาวะไขมัน ระดับน้ำตาล และอินซูอินในเลือดสูง เมื่อให้สาร myricetin จากส่วนเหนือดินของชะมดต้น ขนาด 0.3, 0.5 และ 1 มก./กก. โดยการฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ พบว่า myricetin ขนาด 1 มก./กก. มีผลลดระดับน้ำตาลและเพิ่มอินซูลินในเลือดได้ และเมื่อฉีด myricetin ขนาด 1 มก./กก. วันละ 3 ครั้ง แก่หนู เป็นเวลา 1 สัปดาห์ เปรียบเทียบกับการป้อนยา metformin ซึ่งเป็น insulin sensitizer (320 มก./กก. วันละ 3 ครั้ง) พบว่า myricetin มีผลลดน้ำตาลในเลือดไ...

306

ฤทธิ์ต้านการสร้างเส้นเลือดของสารสกัดฟ้าทะลายโจร
ฤทธิ์ต้านการสร้างเส้นเลือดของสารสกัดฟ้าทะลายโจร และ andrographolideฤทธิ์ต้านการสร้างเส้นเลือดมีความสำคัญมากในการรักษาโรคมะเร็ง มีการทดลองศึกษาฤทธิ์ดังกล่าวของสารสกัดจากฟ้าทะลายโจร (Andrographis paniculata ) (APE) และสารประกอบหลักของมันคือ andrographolide (ANDLE) ซึ่งพบว่าการฉีดสารทั้ง 2 ชนิดขนาด 10 mg/dose/ตัว และ 500 μg/dose/ตัว ตามลำดับ เข้าทางช่องท้องของหนูถีบจักร สามารถยับยั้งการสร้างเส้นเลือดฝอยของหนู C57BL/6 ซึ่งการสร้างเส้นเลือดดังกล่าวนี้ เกิดจากการชักนำด้วยเซลล์มะเร็ง B16F-10 จ...

42

ฤทธิ์ต้านจุลชีพจากใบแป๊ะก๊วย
ฤทธิ์ต้านจุลชีพจากใบแป๊ะก๊วย เมื่อนำสารสกัดเมธานอลของใบแป๊ะก๊วย( Ginkgo biloba Linn. )มาแยกด้วยตัวทำละลายต่างๆ 3 ชนิด คือ ethyl acetate , n-butanol และน้ำ พบว่าส่วนของ ethyl acetate แสดงฤทธิ์ต้านเชื้อจุลชีพได้หลายชนิด คือ Enterococcus faecalis Streptococcus sanguis และ Candida parapsilosis โดยความเข้มข้นต่ำสุดในการยับยั้งเชื้อมีค่าน้อยกว่า 19 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร เมื่อนำส่วนของ ethyl acetate มาแยกต่อพบว่ามีสารสำคัญแสดงฤทธิ์ ...

806

น้ำว่านหางจระเข้ยับยั้ง
น้ำว่านหางจระเข้ยับยั้ง CYP3A4 และ CYP2D6การศึกษาสารสกัดจากน้ำว่านหางจระเข้ด้วยเอทานอลต่อการทำงานของเอนไซม์ cytochrome P450 (CYP) 3A4 และ 2D6 จากคน (recombinant human CYP) โดยวัดการทำงานเกี่ยวกับเมตาบอลิซึมของฮอร์โมนเทสโทสเตอร์โรนและยาแก้ไอเดกซ์โทรเมทอร์แฟน (dextromethorphan) ตามลำดับ โดยมีตัวควบคุมเชิงบวกคือ ketoconazole (สารยับยั้งเอนไซม์ CYP3A4) และ quinidine (สารยับยั้งเอนไซม์ CYP2D6) ตามลำดับ สารสกัดจากน้ำว่านหางจระเข้แสดงให้เห็นว่ามีการยับยั้ง เอนไซม์ CYP โดยมีความเข้มข้นที่สามารถออกฤทธิ์ย...

670

ฤทธิ์ในการสร้างเซลล์ประสาทใหม่ของสาร
ฤทธิ์ในการสร้างเซลล์ประสาทใหม่ของสาร EGCG จากชาเขียวPhytother Res 2010;24:1065-70. ข้อมูลอ้างอิงจาก : ข่าวความเคลื่อนไหวสมุนไพร : สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล...