Menu

ข่าวความเคลื่อนไหว ผลวิจัยจากการทดลอง ของ สมุนไพร ชนิดต่างๆ

ฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดของแป้งต้านทานการย่อยจากเมล็ดบัว



หมายเหตุ: Resistant starch คือ แป้งที่ทนต่อการย่อยสลายด้วยเอนไซม์ในระบบทางเดินอาหาร จึงไม่สามารถดูดซึมภายในลำไส้เล็กของมนุษย์ได้ แต่ถูกหมักโดยจุลินทรีย์ที่อยู่ในลำไส้ใหญ่ ซึ่ง resistant starch มีคุณสมบัติในการเป็นพรีไบโอติก (prebiotic) ที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย



ข้อมูลอ้างอิงจาก : ข่าวความเคลื่อนไหวสมุนไพร : สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

1

2

3

4

5

6

บทความอื่นๆ

54

ผลต่อทารกในครรภ์และความเป็นพิษต่อเซลล์จากดอกคำฝอย
ผลต่อทารกในครรภ์และความเป็นพิษต่อเซลล์จากดอกคำฝอย จากการทดลองในหนูที่ตั้งท้อง โดยให้สารสกัดน้ำจากดอกคำฝอยในขนาดต่างๆ ระหว่างวันที่ 0-8 ของการตั้งครรภ์ และแยกตัวอ่อนออกมาในวันที่ 13 ของการตั้งครรภ์พบว่าสารสกัดมีความเป็นพิษต่อทารกในครรภ์ หนูที่ได้รับสารสกัดขนาดความเข้มข้นสูง ( 1.6 และ 2 mg/kg/วัน ) ทำให้เกิดการฝ่อของตัวอ่อนและในขนาดความเข้มข้นต่ำ ( 1.2 mg/kg/วัน ) จะเกิดการเปลี่ยนแปลงของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน ภายนอกและความยาวของท่อประสาท ( neur...

1526

ผลของน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นต่อระดับน้ำตาลและไขมันของสัตว์ทดลองปกติและสัตว์ทดลองที่เป็นเบาหวาน
ผลของน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นต่อระดับน้ำตาลและไขมันของสัตว์ทดลองปกติและสัตว์ทดลองที่เป็นเบาหวานการศึกษาผลของน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น (virgin coconut oil) ต่อระดับน้ำตาลและไขมันในหนูแรทปกติและหนูแรทที่เป็นเบาหวาน การทดสอบแบ่งหนูแรทออกเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 กลุ่มควบคุม กลุ่มที่ 2 ป้อนอาหารที่มีส่วนผสมของน้ำมันมะพร้าว 20% กลุ่มที่ 3 เหนี่ยวนำให้เกิดเบาหวานชนิดที่ 1 ด้วย alloxan และกลุ่มที่ 4 ป้อนอาหารที่มีส่วนผสมของน้ำมันมะพร้าว 20% ร่วมกับ alloxan เป็นเวลา 16 สัปดาห์ พบว่าการป้อนน้ำมันมะพร้าวสกัดเย...

577

พิษต่อตับของสาร
พิษต่อตับของสาร (-)-epigallocatechin-3-gallate จากใบชาในหนูเม้าส์การศึกษาความเป็นพิษของสาร (-)-epigallocatechin-3-gallate (EGCG) จากใบชา โดยป้อนสาร EGCG ขนาด 50-2,000 มก./กก. ให้หนูเม้าส์อายุ 7-8 สัปดาห์ กินหลังอดอาหารหนูตอนกลางคืนครั้งเดียว หรือป้อนสาร EGCG ให้หนูกินขนาด 750 มก./กก. วันละ 2 ครั้ง นาน 2-7 วัน หลังจากนั้นเจาะเลือดเพื่อดูการทำงานของตับ พบว่าหนูเม้าส์ที่ได้รับสาร EGCG ขนาด 1,500 มก./กก. ครั้งเดียว ระดับเอนไซม์ alanine aminotransferase (ALT) ในเลือดสูงขึ้น 138 เท่า และลดอัตราการอยู...

174

ฤทธิ์กดประสาทของ
ฤทธิ์กดประสาทของ barakol Barakol ซึ่งสกัดได้จากใบขี้เหล็ก มีฤทธิ์ยับยั้งประสาทส่วนกลาง ทำให้ลดการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ ทำให้หลับมากขึ้น และเมื่อทดสอบหากระบวนการออกฤทธิ์ พบว่าไม่ได้เกิดผ่าน GABA หรือ glycine และ barakol ไม่มีฤทธิ์ต้านการซึม และมีฤทธิ์ลดการหลั่ง dopamine จึงเป็นไปได้ว่าฤทธิ์กดประสาทส่วนกลางเนื่องมาจากการลดการหลั่ง dopamine นั่นเอง J Ethnopharmacol 2002;83:87-94 ข้อมูลอ้างอิงจาก : ข่าวความเคลื่อนไหวสมุนไพร : สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสต...

1591

ผลของหญ้าฝรั่นต่อภาวะจอประสาทตาเสื่อม
ผลของหญ้าฝรั่นต่อภาวะจอประสาทตาเสื่อมการศึกษาทางคลินิก (randomised, double-blinded, placebo-controlled crossover trial) ในอาสาสมัครผู้ใหญ่ 100 คน อายุมากกว่า 50 ปี ที่มีภาวะจอประสาทตาเสื่อม (age-related macular degeneration: AMD) ในระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง และมีค่าสายตามากกว่า 20/70 Snellen equivalent อย่างน้อย 1 ข้าง คัดเลือกอาสาสมัครที่มีรอยโรคของตาและโรคทางระบบทางเดินอาหารออกจากการทดสอบ ทำการทดสอบโดยแบ่งอาสาสมัครออกเป็นกลุ่มทดสอบที่จะได้รับหญ้าฝรั่น 20 มก./วัน เป็นระยะเวลา 3 เดือน เปรียบเทียบก...

172

ผลของน้ำมันหอมระเหยจากข่าคมต่อระบบไหลเวียนของโลหิต
ผลของน้ำมันหอมระเหยจากข่าคมต่อระบบไหลเวียนของโลหิต มีผู้นำเอาน้ำมันหอมระเหยจากใบข่าคมไปตรวจสอบผลต่อระบบไหลเวียนของโลหิต พบว่าทำให้ความดันโลหิตและอัตราการเต้นของหัวใจเปลี่ยนแปลง ซึ่งฤทธิ์นี้เนื่องมาจากสาร terpinen-4-ol ซึ่งเป็นสารที่พบมากในน้ำมันหอมระเหยนี้ จากการศึกษาพบว่าเมื่อฉีดน้ำมันหอมระเหยทางหลอดเลือดให้หนูที่สลบ และหนูปกติ พบว่าในหนูที่สลบทำให้ความดันโลหิตลดลงปานกลางในลักษณะสัมพันธ์กับขนาดที่ให้ ส่วนผลต่ออัตราการเต้นของหัวใจ พบว่ามีผลในหนูที่สลบเฉพาะเมื่อให้ขนาดสูง 10 และ 2...

163

ฤทธิ์รักษาแผลของใบลำโพง
ฤทธิ์รักษาแผลของใบลำโพง สารสกัดใบลำโพงด้วย absolute alcohol สามารถรักษาบาดแผลได้ โดยพบว่าเมื่อรักษาแผลด้วยขี้ผึ้งที่มีสารสกัดลำโพง 10% ทาแผลไฟไหม้บนหลังหนู พบว่าแผลหายเร็วขึ้น มีการสร้าง collagen ซึ่งเป็นไปตามการใช้ในแผนโบราณ J Ethnopharmacol 2002;83:193-9 ข้อมูลอ้างอิงจาก : ข่าวความเคลื่อนไหวสมุนไพร : สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล...

288

Cinnamaldehyde
Cinnamaldehyde สารต้านเบาหวานที่มีประสิทธิภาพในอินเดียมีการใช้ อบเชยลังกา หรือ อบเชยเทศ (Cinnamonum zeylanicn ) เป็นยาพื้นบ้านในการรักษาเบาหวานกันอย่างกว้างขวาง จึงมีนักวิจัยทำการทดลองเพื่อแยกสารออกฤทธิ์ แล้วตรวจสอบสารที่แยกได้โดยดูความสามารถในการลดระดับน้ำตาลกลูโคสในเลือด และพบว่าสารที่มีฤทธิ์คือ cinnomaldehyde ซึ่งแยกได้จากน้ำมันจากส่วนเปลือกของอบเชยลังกาการทดสอบโดยการป้อน cinnamaldehyde ในขนาด 5, 10 และ 20 มก./น้ำหนักตัว 1 กก. แก่หนูขาวเพศผู้ ที่ถูกชักนำให้เกิดเบาหวานด้วย streptozotocin (ST...

670

ฤทธิ์ในการสร้างเซลล์ประสาทใหม่ของสาร
ฤทธิ์ในการสร้างเซลล์ประสาทใหม่ของสาร EGCG จากชาเขียวPhytother Res 2010;24:1065-70. ข้อมูลอ้างอิงจาก : ข่าวความเคลื่อนไหวสมุนไพร : สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล...