Menu

ข่าวความเคลื่อนไหว ผลวิจัยจากการทดลอง ของ สมุนไพร ชนิดต่างๆ

องค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ต้านเชื้อราแคนดิดาจากน้ำมันหอมระเหยของใบมะยมฝรั่ง

การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีในน้ำมันหอมระเหยของใบมะยมฝรั่ง (Eugenia uniflora L.) ที่สกัดด้วยวิธีกลั่นด้วยน้ำ (hydro-distillation) และทำการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโตกราฟีร่วมกับแมสสเปกโตรเมทรี (Gas Chromatography-Mass spectrometry; GC-MS) พบว่าในน้ำมันหอมระเหยของใบมะยมฝรั่งมีสาร selina-1,3,7(11)-trien-8-one (36.37%) และ selina-1,3,7(11)-trien-8-one epoxide (27.32%) เป็นองค์ประกอบหลัก สารอื่นๆ ที่พบคือ germacrene B (7.95%), bicyclogermacrene (4.76%), β-elemene (3.18%), caryophyllene (3.16%), D-germacrene (2.12%), germacrone (1.51%), และ α-bulnesene (1.34%) การทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อราแคนดิดาจำนวน 3 สายพันธุ์ คือ Candida albicans (CA), C. krusei (CK), และ C. tropicalis (CT) ด้วยวิธี broth microdilution assay พบว่าความเข้มข้นของน้ำมันหอมระเหยของใบมะยมฝรั่งที่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแคนดิดาได้คือ ≥8,192 มคก./มล. โดยน้ำมันหอมระเหย, ยาต้านเชื้อรา fluconazole, และส่วนผสมของน้ำมันหอมระเหย + fluconazole มีค่าความเข้มข้นที่สามารถยับยั้งเชื้อได้ครึ่งหนึ่ง (IC50



ข้อมูลอ้างอิงจาก : ข่าวความเคลื่อนไหวสมุนไพร : สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

1

2

3

4

5

6

บทความอื่นๆ

1061

สารสกัดจากเมล็ดคนทีเขมาช่วยรักษาอาการข้ออักเสบ
สารสกัดจากเมล็ดคนทีเขมาช่วยรักษาอาการข้ออักเสบการศึกษาฤทธิ์รักษาข้ออักเสบของสารสกัดมาตรฐาน 80% เอทานอลจากเมล็ดคนทีเขมา (Vitex negundo Phytomedicine 2014;21:838-46 ข้อมูลอ้างอิงจาก : ข่าวความเคลื่อนไหวสมุนไพร : สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล...

821

ผงกล้วยหอมค่อมดิบช่วยป้องกันโรคลำไส้อักเสบ
ผงกล้วยหอมค่อมดิบช่วยป้องกันโรคลำไส้อักเสบการศึกษาในหนูแรทที่กระตุ้นให้เกิดโรคลำไส้อักเสบด้วย trinitrobenzenesulfonic acid พบว่าการป้อนอาหารที่มีส่วนผสมของผงกล้วยหอมค่อมดิบ 10% ร่วมกับการให้ยาเพรดนิโซโลน (prednisolone: ยาแก้อักเสบ) ขนาด 2 มก./กก. ให้ประสิทธิผลในการรักษาอาการลำไส้อักเสบได้มากกว่าการป้อนยาเพรดนิโซโลนหรือผงกล้วยหอมค่อมดิบขนาด 10% และ 20% เพียงอย่างเดียว โดยพบว่าผงกล้วยหอมค่อมดิบมีฤทธิ์ต้านการเกิดออกซิเดชั่นบริเวณลำไส้ ป้องกันการพร่องของกลูต้าไธโอน (glutathione depletion) ยับยั้งการ...

7

สารสำคัญจากโสมอเมริกันมีฤทธิ์
สารสำคัญจากโสมอเมริกันมีฤทธิ์ hepatoprotective สารสำคัญซึ่งแยกได้จากโสมอเมริกัน (Panax quinquefolium Linn.) แสดงฤทธิ์ต่อต้านการทำลายตับของสาร D-galactosamine และ lipopolysaccharide สารสำคัญดังกล่าวมีสูตรโครงสร้างเป็น dammarane-type triterpene oligoglycosidesChem Pharm Bull 1998;46(4):647-57 ข้อมูลอ้างอิงจาก : ข่าวความเคลื่อนไหวสมุนไพร : สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล...

1273

ประสิทธิผลและความปลอดภัยของสารสกัดรวงข้าวหอมมะลิต่อการชะลอความเสื่อมของผิวหนัง
ประสิทธิผลและความปลอดภัยของสารสกัดรวงข้าวหอมมะลิต่อการชะลอความเสื่อมของผิวหนังJ Ethnopharmacol 2016;193:607-16. ข้อมูลอ้างอิงจาก : ข่าวความเคลื่อนไหวสมุนไพร : สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล...

1074

ฤทธิ์ของสารสกัดดอกคำฝอยในการกระตุ้นการงอกของผม
ฤทธิ์ของสารสกัดดอกคำฝอยในการกระตุ้นการงอกของผมการศึกษาฤทธิ์กระตุ้นการงอกของผมของสารสกัด 50% เอทานอลจากดอกคำฝอยซึ่งอุดมไปด้วยสาร hydroxysafflor yellow A ในเซลล์ dermal papilla และ human keratinocytes (HaCaT) พบว่าสารสกัด ความเข้มข้น 0.005-1.25 มก./มล. จะกระตุ้นการเพิ่มจำนวนของเซลล์ทั้งสองชนิดได้ 166.02 ± 4.89% และ 114.83 ± 6.83% ตามลำดับ สารสกัดที่ความเข้มข้น 0.25-1.00 มก./มล. มีฤทธิ์เพิ่มการแสดงออกของ vascular endothelial growth factor mRNA และ keratinocyte growth factor mRNA ซึ่งเ...

330

ฤทธิ์ต้านเนื้องอกของสารในกลุ่ม
ฤทธิ์ต้านเนื้องอกของสารในกลุ่ม alkaloids จากเมล็ดแสลงใจสารในกลุ่ม alkaloids จำนวน 3 ใน 6 ชนิด ซึ่งแยกได้จากเมล็ดของแสลงใจ (Strychnos nux-vomica  L.) เมื่อนำมาทดสอบกับเซลล์มะเร็งของมนุษย์พบว่ามีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์ดังกล่าวโดยสาร strychnine ให้ผลกับ human carcinoma cell line KB, human leukemia cell line HL-60 และ human gastric carcinoma cell line BGC สาร pseudostrychnineให้ผลกับ human carcinoma cell line KB, human gastric carcinoma cell line BGC และ human hepatic carcinoma cell...

1215

ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของน้ำทับทิม
ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของน้ำทับทิมศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของน้ำทับทิมในอาสาสมัครชายสุขภาพดีจำนวน 28 คน (อายุระหว่าง 18-24 ปี) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม (กลุ่มละ 14 คน) กลุ่มที่ 1 ให้ดื่มน้ำเปล่า (กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 ให้ดื่มน้ำทับทิมวันละ 240 มล. นานติดต่อกัน 2 สัปดาห์ ทำการเก็บตัวอย่างเลือดของอาสาสมัครเพื่อวิเคราะห์ค่าชีวเคมีในเลือดและวิเคราะห์เอนไซม์ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่น (oxidative stress) ในช่วงก่อนและหลังดื่มน้ำทับทิมเพื่อเปรียบเทียบ โดยมีการทดสอบให้อาสาสมัครออกกำลังกาย...

225

โปรตีนจากถั่วกับการชลออาการโรคไต
โปรตีนจากถั่วกับการชลออาการโรคไต เมื่อให้หนูซึ่งเป็นโรคไตเรื้อรังกินโปรตีนจากถั่ว เป็นเวลา 1-3 สัปดาห์ เมื่อตรวจร่องรอยโรคโดยดู fibrosis การขยายของก้อนเนื้อ (cyst) องค์ประกอบของกรดไขมัน และการเกิดพรอสต้าแกลนดิน พบว่า fibrosis ลดลง 22 และ 33% ที่ 1 และ 34 อาทิตย์ ก้อนเนื้อโตช้าลง 33% ที่อาทิตย์ที่ 3 ปริมาณกรดไขมัน C18 : 2 n-6 ลดลง และลดการหลั่งพรอสต้าแกลนดิน จะเห็นว่าโปรตีนจากถั่วจะชลอการลุกลามของโรคไต ถ้าให้เมื่อเป็นโรคไตเรื้อรังระยะแรกJ Nutr 2004;134(63):1504-7 ...

1649

ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์
ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ arginase ของสารฟลาโวนอยด์จากใบหม่อนเอนไซม์ arginase ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ทำหน้าที่เปลี่ยน L-arginine เป็น L-ornithine และยูเรียในกระบวนการทําลายพิษที่เกิดจากแอมโมเนียของร่างกาย (ammonia detoxification) นอกจากนี้ L-arginine ยังเป็นสารตั้งต้นเพื่อให้เอนไซม์ nitric oxide synthase (iNOS) เปลี่ยนให้เป็น ciltrulline และ nitric oxide (NO) ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการขยายตัวของหลอดเลือด ซึ่งหากร่างกายมีปริมาณ arginase สูงเกินไปจะมีผลแย่งกับ iNOS ในการจับกับ L-arginine ทำให้การสร้าง NO ลดลง และ...