Menu

ข่าวความเคลื่อนไหว ผลวิจัยจากการทดลอง ของ สมุนไพร ชนิดต่างๆ

ผลของการดื่มน้ำต้มใบกระท่อมต่อฮอร์โมนเพศชาย

ศึกษาผลของการดื่มน้ำต้มใบกระท่อมต่อระดับฮอร์โมนเพศชายในระยะยาว โดยสุ่มสำรวจประชากรเพศชายที่อาศัยในเมืองปีนังประเทศมาเลเซียซึ่งมีประวัติการดื่มน้ำต้มใบกระท่อมมานานมากกว่า 2 ปี จำนวน 19 คน (อายุเฉลี่ย 30±5.6 ปี) จากการตอบแบบสอบถามพบว่า อายุเฉลี่ยของอาสาสมัครทั้ง 19 คนที่เริ่มดื่มน้ำต้มใบกระท่อมคือ 22.5±6.0 ปี ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ระยะเวลาในการดื่มน้ำต้มใบกระท่อมโดยเฉลี่ยนานมากกว่า 6 ปี และขนาดที่ดื่มโดยเฉลี่ยคือ วันละ 3.5 แก้ว (เทียบเท่ากับการได้รับสารสำคัญ mytragynine เท่ากับวันละ 76.23-94.15 มก.) และเมื่อทำการเก็บตัวอย่างเลือดเพื่อตรวจวิเคราะห์ฮอร์โมนเพศได้แก่ testosterone, follicle stimulating hormone (FSH) และ luteinizing hormone (LH) และค่าชีวเคมีในเลือดอื่นๆ พบว่า การดื่มน้ำต้มใบกระท่อมในขนาดและระยเวลาดังกล่าวไม่ส่งผลต่อระดับฮอร์โมนเพศของอาสาสมัครและค่าชีวเคมีในเลือดแต่อย่างใด ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า การดื่มน้ำต้มใบกระท่อมไม่มีความสัมพันธ์ต่อภาวะพร่องฮอร์โมนเพศชายแต่อย่างใด

J Ethnopharmacol. 2018; 221: 30-36.

ข้อมูลอ้างอิงจาก : ข่าวความเคลื่อนไหวสมุนไพร : สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

1

2

3

4

5

6

บทความอื่นๆ

1377

น้ำมันคาร์โมมายด์ช่วยบรรเทาอาการของโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือในผู้ป่วยระดับอ่อนและปานกลาง
น้ำมันคาร์โมมายด์ช่วยบรรเทาอาการของโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือในผู้ป่วยระดับอ่อนและปานกลางการศึกษาฤทธิ์ของน้ำมันคาร์โมมายด์ที่ได้จากการต้มและสกัดน้ำมันจากดอกคาร์โมมายด์เยอรมัน (German chamomile, Matricaria chamomilla L. วงศ์ Asteraceae) ด้วยน้ำมันงา ต่อภาวะภาวะเส้นประสาท Median ถูกกดทับในอุโมงค์ข้อมือ (carpal tunnel syndrome: CTS) โดยใช้การศึกษาคลินิกแบบ randomized double-blind placebo-controlled trial ในผู้ป่วย CTS ระดับอ่อนและปานกลาง จำนวน 86 คน แบ่งเป็นกลุ่มที่ได้รับการทาน้ำมันดอกคาร์โม...

935

ความสามารถในการยืดอายุของหนอนนีมาโทดา
ความสามารถในการยืดอายุของหนอนนีมาโทดา Caenorhaditis elegans  ของสารสกัด n-butanol จากเมล็ดของสนหางสิงห์สนหางสิงห์ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายในการแพทย์แผนจีนโดยใช้เป็นยาบำรุงและใช้เป็นยาระงับประสาท การศึกษาครั้งนี้เพื่อที่จะประเมินฤทธิ์การยืดอายุของการมีชีวิตให้นานขึ้นจากสารสกัด n-butanol จากเมล็ดของสนหางสิงห์โดยทำการทดลองในหนอนนีมาโทดา C. elegans  เพื่อให้ทราบถึงฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและนำไปใช้ในการรักษาทางการแพทย์แผนโบราณต่อไป โดยทำการศึกษาการยืดอายุของหนอน C. elegans  ในสภาวะปกติและสภ...

904

ฤทธ์ของหมามุ่ยในการลดความเสียหายของสเปิร์มในหนูที่เป็นเบาหวาน
ฤทธ์ของหมามุ่ยในการลดความเสียหายของสเปิร์มในหนูที่เป็นเบาหวานการศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดเอทานอลจากเมล็ดหมามุ่ยต่อความผิดปกติในการทำงานของไมโตคอนเดรียและการทำลายดี เอ็น เอ ในสเปิร์มของหนูที่เป็นเบาหวาน โดยแบ่งหนูออกเป็น กลุ่มหนูปกติ กลุ่มที่เป็นเบาหวานโดยการเหนี่ยวนำด้วยสาร streptozotocin กลุ่มที่เป็นเบาหวานและได้รับสารกัดเมล็ดหมามุ่ย ขนาด 200 มก./กก. และหนูปกติที่ได้รับสารสกัดเมล็ดหมามุ่ย ขนาด 200 มก./กก. ทำการทดลองนาน 60 สัปดาห์ พบว่าสารสกัดจากเมล็ดหมามุ่ย จะช่วยเพิ่มจำนวน การเคลื่อนที่ และการมีชีว...

156

ฤทธิ์แก้ท้องเสียและปวดท้องของฝรั่ง
ฤทธิ์แก้ท้องเสียและปวดท้องของฝรั่ง มีการทดลองนำเอาใบฝรั่งบรรจุแคปซูลในขนาด 500 มก. ให้ผู้ป่วยโรคท้องเสียเฉียบพลันซึ่งเกิดจากการติดเชื้อ โดยให้รับประทานครั้งละ 1 แคปซูล ทุก 8 ชม. เป็นเวลา 3 วัน พบว่าอาการปวดบิดอย่างแรงในผู้ป่วยเหล่านี้ลดลงเมื่อได้รับใบฝรั่ง และเป็นยาที่ปลอดภัย J Ethnopharmacol 2002;83:19-24. ข้อมูลอ้างอิงจาก : ข่าวความเคลื่อนไหวสมุนไพร : สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล...

73

พืชวงศ์
พืชวงศ์ Zingiberaceae ต่อต้านสารเร่งการเกิดมะเร็ง สมุนไพรในวงศ์ Zingiberaceae 6 ชนิด คือ ขมิ้น ( Curcuma domestica Valeton ) ว่านชักมดลูก ( C. xanthorrhiza Roxb. ) เปราะหอม ( Kaempferia galanga L. ) ไพล ( Zingiber cassumunar Roxb.) ขิง ( Z. officinale Roscoe ) และกระทือ ( Z. zerumbet (L.) Smith ) มีผลต้านการกระตุ้นไวรัสเอพสเตนบาร์ด้วยสาร TPA( 12-o-tetradecanoyl phorbol-13-acetate ) ซึ่งเป็น tumour promoter (สารเร่งการเกิดมะเร็ง) ข้อมูลนี้เป็นประโ...

1338

ฤทธิ์รักษาแผลไฟไหม้ของบัวบก
ฤทธิ์รักษาแผลไฟไหม้ของบัวบกการทดสอบให้ผู้ป่วยที่มีแผลไฟไหม้แบบตื้น (partial-thickness burn) 75 คน แบ่งให้ทาขี้ผึ้งที่เตรียมจากสารสกัดจากใบบัวบก (Centella asiatica L.) หรือยาซิลเวอร์ซัลฟาไดอะซีน (silver sulfadiazine) ทาบริเวณแผลวันละ 1 ครั้ง พบว่าขี้ผึ้งจากใบบัวบกให้ผลการรักษาแผลไฟไหม้ดีกว่ากลุ่มที่ได้รับยาซิลเวอร์ซัลฟาไดอะซีน เมื่อประเมินจากความยืดหยุ่นของแผล การสร้างหลอดเลือดฝอย เม็ดสีบริเวณผิว และการประเมินด้วยสายตา นอกจากนี้อัตราการสร้างเยื่อบุผิวบริเวณแผล (re-epithelialization) ของครีมบัวบกเ...

1434

ฤทธิ์ภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานของสารสกัดเอทานอลจากเปลือกต้นขนุนในหนูแรทที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดเบาหวานด้วยสารอัลโลแซน
ฤทธิ์ภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานของสารสกัดเอทานอลจากเปลือกต้นขนุนในหนูแรทที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดเบาหวานด้วยสารอัลโลแซนการศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดเอทานอลจากเปลือกต้นขนุน (Artocarpus heterophyllus Lam.) ในการลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในหนูแรทที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดเบาหวานด้วยการฉีดสาร alloxan เข้าช่องท้องในขนาด 150 มก./กก. และป้อนสารสกัดในขนาด 50, 100 และ 150 มก./กก. น้ำหนักตัว ติดต่อกันนาน 21 วัน ผลพบว่าเมื่อป้อนสารสกัดเอทานอลจากเปลือกต้นขนุน โดยเฉพาะขนาด 150 มก./กก. มีผลเพิ่มน้ำหนักตัวของสัตว์ทดลอง ลดระดับไข...

1421

การทดสอบความเป็นพิษและความทนต่อกลูโคสของสารสกัดจากใบมะยม
การทดสอบความเป็นพิษและความทนต่อกลูโคสของสารสกัดจากใบมะยมการศึกษาความเป็นพิษของสารสกัด 80% เอทานอลจากใบมะยมในหนูแรท โดยป้อนสารสกัด ขนาด 1,000, 1,500 และ 2,000 มก./กก. เพียงครั้งเดียว สำหรับความเป็นพิษเฉียบพลัน และป้อนติดต่อกันทุกวันนาน 14 วัน สำหรับความเป็นพิษกึ่งเฉียบพลัน รวมทั้งการทดสอบความทนต่อกลูโคส (oral glucose tolerance test, OGTT) โดยป้อนสารสกัด ขนาด 250 มก./กก. เป็นเวลา 30 นาที ก่อนให้กลูโคส ขนาด 2 ก./กก. ซึ่งวัดระดับน้ำตาลในเลือดที่เวลา -30, 0, 30, 60, 120 และ 240 นาที เปรียบเทียบกับกลุ...

1283

ประสิทธิภาพของสารสกัดบ๊วยต่อการปกป้องตับ
ประสิทธิภาพของสารสกัดบ๊วยต่อการปกป้องตับ การต้านออกซิเดชัน และการต้านการอักเสบการศึกษาทางคลินิกแบบ double-blind, placebo-controlled ในอาสาสมัครสุขภาพดี 45 คน อายุ 56.0±11.6 ปี ที่มีค่าการทำงานของตับ transaminase ระหว่าง 20-40 UI/L โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 และ 2 ให้รับประทานสารสกัดมาตรฐานของบ๊วย (Prunus mume) ขนาด 150 และ 300 มก./วัน ตามลำดับ เปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม เป็นเวลา 3 เดือน ผลการทดสอบพบว่าสารสกัดบ๊วยมีฤทธิ์ปกป้องตับโดยลดปริมาณของ alanine aminotransferase (ALT) ร้อยละ 47...