-
ผลวิจัยสมุนไพร Thai Herb Research.
-
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสารในกลุ่ม
ข่าวความเคลื่อนไหว ผลวิจัยจากการทดลอง ของ สมุนไพร ชนิดต่างๆ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสารในกลุ่ม polymethoxyflavones จากเปลือกส้มจีน
การวิเคราะห์โครงสร้างสารในกลุ่ม polymethoxyflavones (Citrus polymethoxyflavones; PMFs) ที่แยกได้จากเปลือกส้มจีน (Citrus reticulata
ข้อมูลอ้างอิงจาก : ข่าวความเคลื่อนไหวสมุนไพร : สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
บทความอื่นๆ
ผลขยายหลอดเลือดของ
ผลขยายหลอดเลือดของ isoflavone จากถั่วเหลืองในหญิงวัยหมดประจำเดือนการศึกษาผลการขยายหลอดเลือดของ isoflavone จากถั่วเหลืองในอาสาสมัครหญิงที่อยู่ในวัยหมดประจำเดือน จำนวน 22 คน อายุระหว่าง 54 - 70 ปี โดยให้รับประทานอาหาร คือ ขนมปังปิ้งทาด้วยแยมส้มซึ่งผสมสารสกัดถั่วเหลือง 200 มก. (มีปริมาณ isoflavone เท่ากับ 80 มก.) จากนั้นศึกษาการทำงานของเซลล์ endothelium ที่ brachial artery ด้วยวิธีการวัด flow-mediated dilation (FMD) วัดความดัน และคลื่นความดันเลือด (pulse wave) โดยดูค่า peripheral augmentation in...
มะเขือเทศลดไขมันในเลือดและต้านอนุมูลอิสระ
มะเขือเทศลดไขมันในเลือดและต้านอนุมูลอิสระเมื่อแบ่งหนูแฮมสเตอร์ จำนวน 32 ตัว เป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มควบคุม กินอาหารปกติ กลุ่มที่ 2 กินอาหารที่มีไขมันสูง (ประกอบด้วยอาหารปกติ + น้ำมันข้าวโพด 10% + คอเลสเตอรอลล 0.2%) กลุ่มที่ 3 และ 4 กินอาหารไขมันสูงร่วมกับสารสกัดมะเขือเทศเข้มข้น (tomato paste) 3% และ 9% ตามลำดับ นาน 8 สัปดาห์ พบว่า หนูที่กินสารสกัดมะเขือเทศเข้มข้น 9% จะมีระดับคอเลสเตอรลทั้งหมด และ low density lipoprotein ในเลือดลดลง 14.3 และ 11% ตามลำดับ ส่วนสารสกัด 3% ไม่มีผลดังกล...
ยางมะละกอรักษาแผลไฟไหม้
ยางมะละกอรักษาแผลไฟไหม้Journal of Ethnopharmacological 121 (2009) 338-341 ข้อมูลอ้างอิงจาก : ข่าวความเคลื่อนไหวสมุนไพร : สำนักงานข้อมูลสมุนไพร
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล...
ฤทธิ์ต้านภาวะเบาหวานของกระเทียมดำ
ฤทธิ์ต้านภาวะเบาหวานของกระเทียมดำกระเทียมดำเกิดจากการนำกระเทียมสดมาบ่มภายใต้สภาวะที่มีอุณหภูมิสูงและควบคุมความชื้น (aging process) ซึ่งกระเทียมดำนี้จะอุดมไปด้วยสาร S-allylcysteine (SAC), polyphenols และ flavonoids ที่มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยามากมาย การศึกษาฤทธิ์ต้านภาวะเบาหวานของกระเทียมดำ ในหนูเม้าส์ที่ถูกเหนี่ยวนำให้เป็นเบาหวานด้วย streptozotocin (STZ) โดยแบ่งหนูเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 เป็นหนูปกติ (กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 ได้รับ STZ (กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 3 ได้รับ STZ + น้ำคั้นกระเทียมสด 200 มก./กก...
ความเป็นพิษของสารกลุ่มอัลคิลฟีนอลในใบแป๊ะก๊วย
ความเป็นพิษของสารกลุ่มอัลคิลฟีนอลในใบแป๊ะก๊วย ในการเตรียมสารสกัดมาตรฐานใบแป๊ะก๊วย (Ginkgo biloba L.)50) = 33 ppm แฟรกชั่นที่ประกอบด้วย ginkgolic acids 58 % และ biflavones < 0.02 % มีค่า LD50 = 64 ppm ส่วนแฟรกชั่นที่ประกอบด้วย ginkgolic acids 1 % และ biflavones 16 % มีค่าความเป็นพิษต่ำคือมีค่า LD50 = 4,540 ppm การศึกษานี้ยืนยันความเป็นพิษของ ginkgolic acids และชี้ให้เห็นว่าส่วนประกอบอื่น เช่น biflavones มีผลเสริมความเป็นพิ...
ฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกันของสารสำคัญจากเห็ดฟาง
ฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกันของสารสำคัญจากเห็ดฟางการทดสอบฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกันของสาร VGPI-a จากเห็ดฟาง (Volvariella volvacea) ซึ่งเป็นน้ำตาลโมเลกุลใหญ่ (macromolecular polysaccharide) และเป็นสารในกลุ่ม α- glucan ที่มีน้ำหนักโมเลกุล 1435.6 kDa ในเซลล์ macrophage ชนิด RAW264.7 โดยบ่มเซลล์ดังกล่าวร่วมกับ VGPI-a ขนาด 31.25, 125 และ 500 มคก./มล. เป็นเวลานาน 24 ชม. พบว่า สาร VGPI-a ทุกขนาดไม่ก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อ macrophage และมีผลเหนี่ยวนำให้ macrophage กระตุ้นการสร้างและการแสดงออกของ nitric oxi...
ฤทธิ์ป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารของตำรับยาว่านชักมดลูก
ฤทธิ์ป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารของตำรับยาว่านชักมดลูกการศึกษาฤทธิ์ป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารของตำรับยาว่านชักมดลูกซึ่งประกอบด้วย ว่านชักมดลูก (Curcuma comosa ) ว่านนางคำ (Curcuma aromatica ) และไพล (Zingiber montanum ) (อัตราส่วน 1:1:1) ในหนูแรทที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดแผลในกระเพาะอาหารด้วยแอสไพริน กรดเกลือ (hydrochloric acid) และการแช่น้ำเย็นเพื่อกระตุ้นให้เกิดความเครียด โดยป้อนยาขนาด 0.25, 0.5, 1 และ 2 ก./กก. เพียงครั้งเดียว เป็นเวลา 30 นาทีก่อนการเหนี่ยวนำให้เกิดแผล หรือป้อนยาในขนาด ...
สาร
สาร Andrograpanin จากฟ้าทะลายโจรลดการอักเสบInter Immunopharmacol 2008;8:951-8 ข้อมูลอ้างอิงจาก : ข่าวความเคลื่อนไหวสมุนไพร : สำนักงานข้อมูลสมุนไพร
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล...
ฤทธิ์ไล่ยุงของน้ำมันหอมระเหยจากกะเพรา
ฤทธิ์ไล่ยุงของน้ำมันหอมระเหยจากกะเพรา สะระแหน่ฝรั่ง ยูคาลิปตัส และเนียมหูเสือทดสอบฤทธิ์ไล่ยุง (repellent activity) ของน้ำมันหอมระเหยจากใบสดของสมุนไพร 4 ชนิด ได้แก่ กะเพรา (Ocimum sanctum), สะระแหน่ฝรั่ง (Mentha piperita), ยูคาลิปตัส (Eucalyptus globulus) และเนียมหูเสือ (Plectranthus amboinicus) ที่สกัดด้วยวิธีการกลั่นด้วยน้ำ (hydrodistillation) และเตรียมเป็นสารละลายน้ำมันหอมระเหยของสมุนไพรแต่ละชนิดความเข้มข้นร้อยละ 20 ในเอทานอล และสารละลายน้ำมันหอมระเหยผสมของสมุนไพรทั้งสี่ชนิดในอัตราส่วนเท่ากัน...