Menu

ข่าวความเคลื่อนไหว ผลวิจัยจากการทดลอง ของ สมุนไพร ชนิดต่างๆ

ฤทธิ์ต้านเชื้อไวรัสไข้หวัดนก H5N1 ของสารสกัดสมุนไพร 5 ชนิด

Asian Pac J Trop Med 2017;10(9):871-6.

ข้อมูลอ้างอิงจาก : ข่าวความเคลื่อนไหวสมุนไพร : สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

1

2

3

4

5

6

บทความอื่นๆ

1366

ฤทธิ์ต้านอาการวิตกกังวลและช่วยให้หลับของดาวเรืองใหญ่
ฤทธิ์ต้านอาการวิตกกังวลและช่วยให้หลับของดาวเรืองใหญ่การทดสอบฤทธิ์ต้านอาการวิตกกังวลและช่วยให้หลับของดาวเรืองใหญ่ (Tagetes erecta L.) ในหนูเม้าส์ โดยฉีดสารสกัดน้ำ เอทานอล ส่วนสกัดเอธิลอะซีเตต และส่วนสกัดเอทานอลจากดอกดาวเรืองใหญ่เข้าทางช่องท้อง (i.p.) ในขนาด 10, 30, 100 มก./กก. หรือ 300 มก./กก. (เฉพาะสารสกัดเอทานอล) ทำการทดสอบด้วยวิธี open-field, exploration cylinder และ hole-board โดยศึกษาความเป็นไปได้ของกลไกการออกฤทธิ์ด้วยการใช้ยาที่มีฤทธิ์ยับยั้งตัวรับต่าง ๆ เช่น WAY100635 (0.32 มก./กก., i.p.)...

723

ฤทธิ์กระตุ้นสมรรถภาพทางเพศของสารสกัดจากคาธา
ฤทธิ์กระตุ้นสมรรถภาพทางเพศของสารสกัดจากคาธา (Catha edulis  F.)ศึกษาฤทธิ์ของคาธาต่อสมรรถภาพทางเพศของหนูแรทเพศผู้ โดยในการทดลองแบ่งหนูออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มควบคุม ป้อนสารละลาย Tween 80 (3% v/v) กลุ่มที่ 2 3 และ 4 ป้อนสารสกัดคาธา ซึ่งสกัดด้วย Chloroform และ diethyl ether สัดส่วน 1:3 (v/v) ขนาด 100 200 และ 300 มก./กก. ตามลำดับ และกลุ่มที่ 5 ป้อนสาร cathinone ขนาด 5 มก./กก. เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ทำการทดสอบพฤติกรรมทางเพศของหนูที่เปลี่ยนแปลงไป และตรวจวัดค่าฮอร์โมนเพศในเลือด รวมถึงการนับ...

716

ฤทธิ์ต้านเบาหวานของหนามแดง
ฤทธิ์ต้านเบาหวานของหนามแดงการศึกษาฤทธิ์ต้านเบาหวานของสารสกัดเมทานอลจากผลหนามแดงดิบ และส่วนสกัดที่แยกได้จากสารสกัดเมทานอล ได้แก่ ส่วนสกัดเอทิลอะซีเตรท ส่วนสกัดอะซีโตน และส่วนสกัดที่ไม่ละลายในอะซีโตน ขนาด 200 และ 400 มก./กก. ในหนูแรทที่ถูกเหนี่ยวนำให้เป็นเบาหวานด้วย alloxan (130 มก./กก.) เปรียบเทียบกับหนูที่ได้รับยา metformin (50 มก./กก.) และกลุ่มควบคุม พบว่าสารสกัดเมทานอลและส่วนสกัด รวมทั้งยา metformin มีผลลดระดับน้ำตาลในเลือดของหนู เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม โดยยา metformin จะให้ผลดีที่สุด ข...

1017

ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรคเท้าเหม็นและลดการอักเสบของมะขามป้อม
ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรคเท้าเหม็นและลดการอักเสบของมะขามป้อมสารสกัด 95% เอทานอลจากเมล็ดและเนื้อของมะขามป้อม ความเข้มข้น 20 มก./แผ่น มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรคเท้าเหม็น ได้แก่ Kytococcus sedentarius ATCC 27573, K. sedentarius ATCC 27574 และ K. sedentarius ATCC 27575 เมื่อทดสอบด้วยวิธี agar diffusion โดยพบว่าบริเวณยับยั้งเชื้อ (Inhibition zone) ของสารสกัดทั้งสอง มีค่าระหว่าง 18.67 - 42.37 และ 14.72 - 43.57 มม. ตามลำดับ และการศึกษาฤทธิ์ลดการอักเสบในหนูแรท โดยทาสารสกัด ...

800

ลดความดันด้วยเปปไทด์จากมันเทศ
ลดความดันด้วยเปปไทด์จากมันเทศการศึกษาฤทธิ์ยับยั้ง angiotensin-I-converting enzyme (ACE) ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่มีผลเกี่ยวข้องกับความดันโลหิต โดยเปปไทด์ที่แยกได้จากน้ำคั้นมันเทศ (sweetpotato peptide: SPP) มีฤทธิ์ยับยั้ง ACE ได้ดี มีค่า IC50 เท่ากับ 18.2 มคก./มล. และเมื่อนำไปทดสอบฤทธิ์ลดความดันโลหิตในหนูแรทที่มีความดันโลหิตสูง (spontaneously hypertensive rat) โดยป้อน SPP ขนาด 100 และ 500 มก./กก. น้ำหนักตัว พบว่าความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัว (systolic blood pressure) ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ ที่เวลา 4 ชั่วโมงแล...

1349

ฤทธิ์ปกป้องไตเสียหายของสารสกัดเปลือกทับทิม
ฤทธิ์ปกป้องไตเสียหายของสารสกัดเปลือกทับทิมศึกษาฤทธิ์ปกป้องไตเสียหายของสารสกัดเปลือกทับทิม โดยทำการป้อนไฮโดรแอลกอฮอลิก (เมทานอลและน้ำ อัตราส่วน 1:1) จากเปลือกทับทิม (Punica granatum) ให้แก่หนูแรทขนาดวันละ 50, 100 และ 200 มก./กก. นานติดต่อกัน 10 วัน และเหนี่ยวนำให้ไตเกิดความเสียหายด้วยการฉีดยา cisplatin เข้าทางช่องท้องขนาด 8 มก./กก. ในวันที่ 7 ของการทดลอง ผลการศึกษาพบว่า การกินสารสกัดเปลือกทับทิมขนาดวันละ 200 มก./กก. มีผลช่วยปกป้องไตไม่ให้เกิดความเสียหายจากการให้ยา cisplatin ได้ โดยมีผลลดค่า creat...

1627

ฤทธิ์ป้องกันแสงแดดและต้านอนุมูลอิสระของตะลิงปลิง
ฤทธิ์ป้องกันแสงแดดและต้านอนุมูลอิสระของตะลิงปลิงการวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญของสารสกัดเอทานอลจากใบตะลิงปลิงพบว่า ประกอบด้วยสารฟีนอลิค 42.22±0.44 มก. GAE/ก. และฟลาโวนอยด์ 41.38±1.31 มก. RE/ก. การทดสอบประสิทธิภาพในการป้องกันแสงแดด พบว่า สารสกัดเอทานอลจากใบตะลิงปลิงเข้มข้น 100, 200 และ 300 ppm มีค่า SPF (sun protection factor) เท่ากับ 3.98±0.16, 7.26±0.22 และ 10.64±0.66 ตามลำดับ เปอร์เซ็นต์การเกิดผื่นแดง (% erythema transmission) และการเกิดเม็ดสี (% pigmentation transmission)...

796

สารสำคัญในชะเอมจีนกับฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียก่อโรคในช่องปาก
สารสำคัญในชะเอมจีนกับฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียก่อโรคในช่องปากการสกัดชะเอมจีน (Glycyrrhiza uralensis ) ด้วยเทคนิค supercritical fluid extract ทำให้ได้สารในกลุ่ม isoflavonoids และ coumarins รวมทั้งสารใหม่อย่าง glycycarpan ซึ่งเป็นสารในกลุ่ม pterocarpan และได้สาร isoflavan-quinones, licoriquinone A และ licoriquinone B ที่เกิดจากการเปลี่ยนสภาพของ licoricidin (1) และ licorisoflavan A (2) การทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียก่อโรคในช่องปาก พบว่าสาร 1 และ 2 มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียที่ดี โดยมีผลยับยั้งกา...

978

ฤทธิ์ลดการอักเสบและยับยั้งเอนไซม์
ฤทธิ์ลดการอักเสบและยับยั้งเอนไซม์ α-glucosidase ของปัญจขันธ์การทดสอบฤทธิ์ลดการอักเสบและยับยั้งเอนไซม์ α-glucosidase ของสารสกัดเมทานอล สารสกัดเอ็น-บิวทานอลจากส่วนเหนือดินและสารที่แยกได้จากปัญจขันธ์ ได้แก่ 3,5-dihydroxyfuran-2(5H)-one (1), rutin (2), kaempferol 3-O-rutinoside (3), (23S)-21β-O-methyl-3β,20ζ-dihydroxy-12-oxo-21,23-epoxydammar-24-ene-3-O-[α-L-rhamnopyranosyl(1→2)][β-D-glucopyranosyl(1→3)]-α-L-arabinopyranoside (4) และ 23β-H-3^...