-
ผลวิจัยสมุนไพร Thai Herb Research.
-
ผลการเปรียบเทียบระหว่างการรับประทาน
ข่าวความเคลื่อนไหว ผลวิจัยจากการทดลอง ของ สมุนไพร ชนิดต่างๆ
ผลการเปรียบเทียบระหว่างการรับประทาน ขิง วิตามินบี 6 และยาหลอก ในการรักษาอาการคลื่นไส้ อาเจียน ในช่วง 3 เดือนแรกของหญิงตั้งครรภ์
The Journal of Maternal-Fetal & Neonatal Medicine.ข้อมูลอ้างอิงจาก : ข่าวความเคลื่อนไหวสมุนไพร : สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
บทความอื่นๆ
ผลของการบริโภคสารสกัดชาเขียว
ผลของการบริโภคสารสกัดชาเขียว สารสกัดดอกกระเจี๊ยบต่อภาวะที่เซลล์และกล้ามเนื้อถูกทำลายจากภาวะเครียดออกซิเดชันในนักกีฬาฟุตบอลการทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุมแบบปกปิดทั้ง 2 ฝ่าย ในนักกีฬาฟุตบอลชาย จำนวน 54 คน แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มๆ ละ 18 คน กลุ่มที่ 1 ให้รับประทานสารสกัดชาเขียว ขนาด 450 มก./วัน กลุ่มที่ 2 ให้รับประทานสารสกัดดอกกระเจี๊ยบ ขนาด 450 มก./วัน กลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มควบคุมให้รับประทาน maltodextrin ขนาด 450 มก./วัน หลังอาหารกลางวันทุกวัน นาน 6 สัปดาห์ และเจาะเลือดก่อนและสิ้นสุดการทดลอง เพื่อด...
ผลของการดื่มโกโก้ต่อระดับไขมันในร่างกาย
ผลของการดื่มโกโก้ต่อระดับไขมันในร่างกายในการศึกษาให้อาสาสมัครเพศชายที่มีระดับคอเลสเตอรอลปกติ และสูงเล็กน้อย จำนวน 25 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มควบคุม ให้ดื่มน้ำตาล 12 ก. ต่อวัน และกลุ่มที่ดื่มโกโก้ 26 ก. ร่วมกับน้ำตาล 12 ก. ต่อวัน โดยดื่มทุกวันๆ ละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 12 สัปดาห์ พบว่าในทั้ง 2 กลุ่ม มีความดันโลหิต อัตราการเต้นของหัวใจ พลังงาน และสารอาหารที่ได้รับไม่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตามกลุ่มที่ดื่มโกโก้จะมีปริมาณของคอเลสเตอรอลชนิด HDL เพิ่มขึ้น 23.4% และเพิ่มมากกว่ากลุ่มควบคุม ขณะที่ปริมาณ...
ฤทธิ์ลดความกังวลจากใบบัวบก
ฤทธิ์ลดความกังวลจากใบบัวบกการศึกษาฤทธิ์คลายความกังวลของสารสกัด ECa 233 (สารสกัดมาตรฐานจากใบบัวบก ประกอบด้วย triterpenoids ไม่น้อยกว่า 80%) ในหนูแรทที่เกิดอาการเครียดแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรังเทียบกับการใช้ยาแผนปัจจุบัน diazepam (ยาคลายความกังวล) ในการทดสอบภาวะเครียดแบบเฉียบพลันด้วยวิธี Elevated plus-maze, Dark-light box test และ Open-field test พบว่าการป้อน ECa 233 ขนาด 100 และ 300 มก./กก.น้ำหนักตัว ให้แก่หนูแรทก่อนการทดสอบ 1 ชั่วโมง ช่วยลดความวิตกกังวลในหนูแรทได้ใกล้เคียงกับการใช้ยา diazepam ขน...
สารสกัดบัวบกสามารถลดระดับ
สารสกัดบัวบกสามารถลดระดับ amyloid beta ในสมองส่วน hippocampus ของหนูที่ถูกเหนี่ยวนำให้เป็นโรคอัลไซเมอร์การศึกษาของสารสกัดบัวบกในการลดระดับ amyloid beta ในสมองส่วน hippocampus ในหนูถีบจักรที่เหนี่ยวนำให้เป็นโรคอัลไซเมอร์ (PSAPP, mice Presenilin amyloid precursor protein) โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงสั้น ระยะเวลาในการทดลอง 60-120 วัน ใช้สารสกัดบัวบกขนาด 2.5 และ 5.0 ก./กก./วัน ป้อนให้กับหนู PSAPP อายุ 60 วัน นาน 60-120 วัน ในขณะที่ช่วงยาวป้อนสารสกัดบัวบกนาน 240-300 วัน และเปรียบเทียบกั...
ประโยชน์ของคุณสมบัติความเป็นสารพรีไบโอติกของกระเจี๊ยบแดงในหนูเม้าส์ที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดภาวะอ้วน
ประโยชน์ของคุณสมบัติความเป็นสารพรีไบโอติกของกระเจี๊ยบแดงในหนูเม้าส์ที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดภาวะอ้วนการทดสอบผลของสารโพลีฟีนอลิกจากสารสกัดของกลีบเลี้ยงของกระเจี๊ยบแดง (Hibiscus sabdariffa) ในหนูเม้าส์ โดยแบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม ได้แก่ หนูเม้าส์ที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดภาวะอ้วนที่ได้รับสารสกัดกระเจี๊ยบแดงขนาด 1, 10 และ 25 มก./กก./วัน กลุ่มควบคุมอาหาร กลุ่มควบคุมอาหารที่ได้รับสารสกัดกระเจี๊ยบแดง 25 มก./กก./วัน และกลุ่มที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดภาวะอ้วนแต่ไม่ได้รับสารสกัดกระเจี๊ยบแดง โดยให้สารผ่านทางปาก ทำการทดส...
ฤทธิ์เหนี่ยวนำให้เกิดการตายของเซลล์มะเร็งของสาร
ฤทธิ์เหนี่ยวนำให้เกิดการตายของเซลล์มะเร็งของสาร ellagitannins จากต้นสกุณีสารในกลุ่ม ellagitannins ที่แยกได้จากต้นสกุณี (Terminalia calamansanai ) ได้แก่ 1-α-O -galloylpunicalagin, 2-O -galloylpunicalin, punicalagin, และ sanguiin H-4 ความเข้มข้น 100 ไมโครโมล เมื่อนำมาทดสอบกับเซลล์มะเร็ง HL-60 พบว่ามีความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็ง โดยมีค่า IC50 เท่ากับ 65.2, 74.8, 42.2, และ 38.0 ไมโครโมล ตามลำดับ และเหนี่ยวนำให้เกิดการตายของเซลล์มะเร็งแบบ apoptosis โดยทำให้เกิดการแตกหักของ DNA (DNA fragment...
ฤทธิ์ต้านการอักเสบของสตรอว์เบอร์รี่
ฤทธิ์ต้านการอักเสบของสตรอว์เบอร์รี่การศึกษากลไกการออกฤทธิ์ต้านการอักเสบของสารสกัดหยาบจากผลสตรอว์เบอร์รี่ด้วยเมทานอลที่ทำให้เป็นกรด (acidified methanol pH 1.0) (Fragaria x ananassa crude extract; CE) และสาร pelargonidin-3-O-glucoside (P3G) ซึ่งเป็นสารในกลุ่ม anthocyanin ที่พบในผลสตรอว์เบอร์รี่ โดยทำการทดลองทั้งแบบ in vivoin vivoMAPK) ซึ่งเกิดจากการเหนี่ยวนำด้วย LPS ได้ โดยประสิทธิภาพจะขึ้นกับขนาดที่ให้ จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า สตรอว์เบอร์รี่เป็นผลไม้ที่มีประโยชน์ สามารถนำไปพัฒนาเป็นยาหรือผลิต...
เพิ่มประสิทธิภาพของยาต้านไวรัส
เพิ่มประสิทธิภาพของยาต้านไวรัส Lopinavir ด้วยน้ำเกรพฟรุตยา Lopinavir เป็นยาต้านไวรัสเอดส์ที่ออกฤทธิ์คงอยู่ในร่างกายได้น้อย เนื่องจากถูกเมตาบอลิสมด้วย cyotochrome P450 3A (CYP3A) และถูกขับออกผ่าน permeability-glycoprotein (P-gp) จึงนิยมใช้คู่กับยา Ritonavir ซึ่งมีฤทธิ์ยับยั้ง CYP3A และการทำงานของ P-gp เพื่อให้ยา Lopinavir คงอยู่ในร่างกายได้ยาวนานขึ้น การศึกษาผลของน้ำเกรพฟรุต ซึ่งเป็นผลไม้ที่มีรายงานว่ามีฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของ CYP3A และ P-gp ต่อคาชีวประสิทธิผล (Bioavailability) ของยา Lopi...
ฤทธิ์แก้ปวดของสารไกลโคโปรตีนจากโสม
ฤทธิ์แก้ปวดของสารไกลโคโปรตีนจากโสมการศึกษาฤทธิ์แก้ปวดของสารไกลโคโปรตีน (glycoproteins) ที่แยกได้จากรากโสม ได้แก่ PGG, PGG1, PGG2 และ PGG3 ในหนูเม้าส์ด้วยวิธีที่เหนี่ยวนำให้เกิดอาการปวดด้วยกรดอะซิติก (acetic acid writhing test) และแผ่นความร้อน (hot-plate tests) ในวิธีที่เหนี่ยวนำด้วยกรดอะซิติก เมื่อฉีดสาร PGG ขนาด 10 20 และ 40 มก./กก. PGG1 และ PGG2 ขนาด 20 มก./กก. และ PGG3 ขนาด 10 และ 20 มก./กก. เข้าทางช่องท้องของหนู พบว่า PGG, PGG2 และ PGG3 จะมีผลลดอาการปวดได้ โดย PGG3 ที่ขนาด 20 มก./กก. จะให้ผล...