Menu

ข่าวความเคลื่อนไหว ผลวิจัยจากการทดลอง ของ สมุนไพร ชนิดต่างๆ

การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างการรับประทานมะระขี้นกและมะขามป้อมต่อระดับไขมันในเลือดในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2

Annals of Phytomedicine 2016;5(1):40-2.

ข้อมูลอ้างอิงจาก : ข่าวความเคลื่อนไหวสมุนไพร : สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

1

2

3

4

5

6

บทความอื่นๆ

568

ชาเขียวช่วยลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคปอดอักเสบในผู้หญิง
ชาเขียวช่วยลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคปอดอักเสบในผู้หญิงการศึกษาแบบ Cohort-study ในประชากรชาวญี่ปุ่นจำนวน 40,572 คน (ชาย 19,079 คน และหญิง 21,493 คน) อายุ 40-79 ปี จากการศึกษาติดตามระหว่างปี 1995-2006 (12-year follow up) พบผู้เสียชีวิตจากโรคปอดอักเสบทั้งหมด 406 ราย เมื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเสียชีวิตจากโรคปอดอักเสบกับการบริโภคชาเขียว พบว่าผู้หญิงที่ดื่มชาเขียวมีอัตราเสี่ยงการเสียชีวิตจากโรคปอดอักเสบน้อยกว่าผู้ที่ไม่ได้ดื่ม โดยการดื่มชาเขียววันละ 1-2 แก้ว, 3-4 แก้ว และมากกว่าวันละ 5 แก้ว...

1335

สาร
สาร ginsenoside Rb 1 ช่วยชะลอภาวะไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังการศึกษาแบบ randomized, placebo-controlled study ในผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคไตเรื้อรังระยะต้น (ระยะที่ 2 และ 3) จำนวน 197 คน สุ่มให้รับประทานสาร ginsenoside Rb 1 จากโสม (Panax ginseng C.A.Mey.) ขนาดวันละ 500 มก. หรือยาหลอก ติดต่อกัน 6 เดือน พบว่าสาร ginsenoside Rb 1 สามารถชะลอความเสื่อมของไต เพิ่มการกำจัดออกของครีตินีนและยูเรีย ได้ดีกว่ากลุ่มที่ได้รับยาหลอก นอกจากนี้ยังลดภาวะเครียดออกซิเดชัน (oxidative stress) และต้านการอ...

213

ฤทธิ์ขับปัสสาวะของดอกผักคราดหัวแหวน
ฤทธิ์ขับปัสสาวะของดอกผักคราดหัวแหวน ในประเทศศรีลังกามีการใช้ดอกผักคราดหัวแหวนในการขับปัสสาวะ นักวิทยาศาสตร์จึงได้ทดลองนำสารสกัดด้วยน้ำเย็น มาทดลองในขนาด 500, 1000, 1500 มก./กก. เปรียบเทียบกับน้ำ และยาขับปัสสาวะ furosemide (13 มก./กก.) พบว่ามีฤทธิ์ขับปัสสาวะ และออกฤทธิ์ภายใน 1 ช.ม. และฤทธิ์อยู่นาน 5 ช.ม. ลักษณะการขับปัสสาวะในชั่วโมงแรกคล้ายผลของ furosenide และยังเพิ่ม Na+ และ K+ ในปัสสาวะ กระบวนการออกฤทธิ์อาจผ่าน ADH releaseJ Ethnopharmacol 2004;91(2-3):317-20 ข้อมูล...

1539

ฤทธิ์ปกป้องตับของสาร
ฤทธิ์ปกป้องตับของสาร non-phenolic diarylheptanoid จากว่านชักมดลูกเมื่อป้อนสารสกัดเอทานอลจากเหง้าว่านชักมดลูก (Curcuma comosa Roxb.) ขนาด 5-500 มก./กก. หรือฉีดสารกลุ่ม diarylheptanoids ที่แยกได้จากสารสกัด ได้แก่ (3R)-1,7-diphenyl-(4E,6E)-4,6-hep-tadien-3-ol (D-049) และ (3S)-1-(3,4-dihydroxy-phenyl)-7-phenyl-(6E)-6-hepten-3-ol (D-092) ขนาด 1-25 มก./กก. เข้าทางช่องท้องของหนูเม้าส์ก่อนเหนี่ยวนำให้เกิดพิษต่อตับด้วยสาร thioacetamide พบว่าสารสกัดว่านชักมดลูกมีผลลดระดับของเอนไซม์ alanine transaminase (A...

1440

ผลของการดื่มน้ำต้มใบกระท่อมต่อฮอร์โมนเพศชาย
ผลของการดื่มน้ำต้มใบกระท่อมต่อฮอร์โมนเพศชายศึกษาผลของการดื่มน้ำต้มใบกระท่อมต่อระดับฮอร์โมนเพศชายในระยะยาว โดยสุ่มสำรวจประชากรเพศชายที่อาศัยในเมืองปีนังประเทศมาเลเซียซึ่งมีประวัติการดื่มน้ำต้มใบกระท่อมมานานมากกว่า 2 ปี จำนวน 19 คน (อายุเฉลี่ย 30±5.6 ปี) จากการตอบแบบสอบถามพบว่า อายุเฉลี่ยของอาสาสมัครทั้ง 19 คนที่เริ่มดื่มน้ำต้มใบกระท่อมคือ 22.5±6.0 ปี ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ระยะเวลาในการดื่มน้ำต้มใบกระท่อมโดยเฉลี่ยนานมากกว่า 6 ปี และขนาดที่ดื่มโดยเฉลี่ยคือ วันละ 3.5 แก้ว (เทียบเท่ากับการ...

1655

ฤทธิ์ต้านเบาหวานของสารสกัดกระชายดำ
ฤทธิ์ต้านเบาหวานของสารสกัดกระชายดำการทดสอบฤทธิ์ต้านเบาหวานของสารสกัดกระชายดำที่มีสาร methoxyflavone ในปริมาณสูง (methoxyflavone-enriched extract of Kaempferia parviflora; MKE) ในหนูแรทที่ถูกเหนี่ยวนำให้เป็นเบาหวานด้วยการฉีด streptozotocin เข้าทางช่องท้อง โดยแบ่งหนูเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 8 ตัว กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มควบคุมได้รับน้ำกลั่น กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มควบคุมได้รับ 0.2%sodium carboxymethylcellulose (CMC) กลุ่มที่ 3 และ 4 ได้รับ MKE ขนาด 150 และ 300 มก./กก./วัน ตามลำดับ และกลุ่มที่ 5 ได้รับยามาตรฐา...

566

ผลของการบริโภคกาแฟต่อแบคทีเรียในลำไส้
ผลของการบริโภคกาแฟต่อแบคทีเรียในลำไส้การศึกษาในอาสาสมัครผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพดี จำนวน 16 คน (ชาย 7 คน และหญิง 9 คน) มีอายุระหว่าง 21 - 59 ปี ที่ไม่มีประวัติเกี่ยวกับโรคระบบทางเดินอาหารและลำไส้ โดยให้อาสาสมัครดื่มกาแฟ 3 แก้ว/วัน นาน 3 สัปดาห์ และในช่วงระหว่างทำการศึกษาห้ามอาสาสมัครรับประทานโยเกิร์ต หรือนมเปรี้ยวที่มีส่วนผสมของจุลินทรีย์แลคโตบาสิลัส ไบฟิโดแบคทีเรียม หรือโปรไบติกชนิดต่างๆ ทำการเก็บอุจจาระของอาสาสมัครก่อนและหลังสิ้นสุดการศึกษา พบว่าอาสาสมัคร 12 คน จาก 16 คน มีผลเพิ่มการทำงาน และป...

117

ผลของสตีวีโอไซด์ในการต้านเบาหวาน
ผลของสตีวีโอไซด์ในการต้านเบาหวาน สตีวีโอไซด์จากใบหญ้ามีผลต่อน้ำตาลในเลือดในหนูที่เป็นเบาหวานชนิด Type 2 ซึ่งเป็น ชนิดที่ปัญหาด้านการหลั่งอินซูลิน และกลูคากอน และการทำงานของอินซูลิน พบว่าสเตียวี- โอไซด์ให้ผลลดน้ำตาลในหนูที่เป็นเบาหวาน เมื่อตรวจด้วยวีธี glucose tolerance และเพิ่มการ ตอบสนองต่ออินซูลิน ปริมาณglucagon ลดลง สำหรับในหนูปกติสตีวีโอไซด์เพิ่มปริมาณอินซูลิน แต่ไม่ทำให้ปริมาณ glucagon เปลี่ยนแปลง จึงสรุปได้ว่าสตีวีโอไซด์มีฤทธิ์ต้านเบาหวาน โดยเพิ่มปริมาณอินซูลิน แต่ทำให้ป...

856

ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและลดความดันของมันฝรั่งสีม่วง
ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและลดความดันของมันฝรั่งสีม่วงการศึกษาแบบให้ครั้งเดียว (single-dose study) ในอาสาสมัคร 8 คน แบ่งให้รับประทานมันฝรั่งสีม่วงอบทั้งเปลือก จำนวน 6-8 ชิ้น (น้ำหนักรวม 138 กรัม) เทียบการรับประทานคุ้กกี้ที่มีแป้งในปริมาณที่เท่ากัน พบว่าการรับประทานมันฝรั่งอบช่วยเพิ่มปริมาณสารต้านอนูมูลอิสระดีทั้งในเลือดและในปัสสาวะ ในขณะที่การรับประทานคุ๊กกี้กลับมีผลลดปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระดังกล่าว และเมื่อทำการศึกษาเปรียบเทียบในผู้ป่วยโรคความดันสูงจำนวน 18 คน โดยให้ผู้ป่วยรับประทานมันฝรั่งสีม่วงอบ...