Menu

ข่าวความเคลื่อนไหว ผลวิจัยจากการทดลอง ของ สมุนไพร ชนิดต่างๆ

ผลของการบริโภคเชอร์รีเปรี้ยวต่อความจำ

การศึกษาทางคลินิกแบบเฉียบพลัน มียาหลอก ปกปิดสองทาง ไขว้กลุ่ม และสุ่มแบบจตุรัสลาติน (An acute placebo-controlled, double-blinded, cross-over, randomized Latin-square design study) เพื่อทดสอบผลของการรับประทานเชอร์รีเปรี้ยว (Prunus cerasus

*น้ำคั้นจากผลเชอร์รีเปรี้ยวชนิดเข้มข้นขนาด 60 มล. ประกอบด้วยสาร cyanidin-3-glucoside 68.0 ± 0.26 มก./ล. โดยมีปริมาณของสารประกอบฟีนอลิกเฉลี่ยเทียบเท่ากับสาร gallic acid (mean gallic acid equivalent) 160.75 ± 0.55 มก./ล. และค่าเฉลี่ยเทียบเท่ากับสารมาตรฐาน Trolox (mean Trolox equivalent) 0.59 ± 0.02 มก./ล.

Br J Nutr 2016;116:1935-44.

ข้อมูลอ้างอิงจาก : ข่าวความเคลื่อนไหวสมุนไพร : สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

1

2

3

4

5

6

บทความอื่นๆ

1571

การศึกษาทางคลินิกผลของการรับประทานอัลมอนต์กับการสร้างน้ำมันบริเวณผิวหนังและริ้วรอยบนใบหน้า
การศึกษาทางคลินิกผลของการรับประทานอัลมอนต์กับการสร้างน้ำมันบริเวณผิวหนังและริ้วรอยบนใบหน้าการศึกษาทางคลินิก (prospective, investigator-blinded, randomized controlled trial) ผลของการรับประทานอัลมอนต์ (Prunus dulcis; almond) กับการสร้างน้ำมันบริเวณผิวหนังและริ้วรอยบนใบหน้าในอาสาสมัครเพศหญิงวัยหลังหมดประจำเดือนที่มีสีผิวประเภท Fitzpatrick skin types 1 และ 2 ที่มีคุณสมบัติผ่านการทดสอบ 28 คน แบ่งออกเป็นกลุ่มที่จะได้รับประทานอัลมอนด์เป็น 20% ของพลังงานทั้งหมดที่ได้รับต่อวัน เปรียบเทียบกับกลุ่มที่จะได้...

250

Myricetin
Myricetin มีฤทธิ์ลดระดับน้ำตาลกลูโคสในหนูเบาหวานโดยกระตุ้น beta-endorphin Myricetin เป็น flavanol ซึ่งพบได้ในพืชหลายชนิด เช่น ชา เบอรี่ ผลไม้ต่างๆ และชะมดต้น (Abelmoschus moschatus) มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ (antioxidative) ป้องกันการเกิดเซลล์มะเร็ง (cytoprotective) มีการศึกษารายงานว่า myricetin สามารถลดพลาสมากลูโคส ในหนูที่เป็นเบาหวานชนิด I (insulin-dependent) และเบาหวานชนิด II (non-insulin dependent) โดยทำให้มีการใช้กลูโคสเพิ่มขึ้นและเพิ่มระดับพลาสมา beta-endorphin like immunoreactivity (BER...

478

ฤทธิ์ยับยั้งหลอดเลือดแข็งตัวของไวน์แดงและไวน์ขาว
ฤทธิ์ยับยั้งหลอดเลือดแข็งตัวของไวน์แดงและไวน์ขาวการทดลองเปรียบเทียบฤทธิ์ของไวน์แดงและไวน์ขาว ความเข้มข้น 0.01 - 3% ในการยับยั้ง platelet-derived growth factor receptor (PDGFR) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการแข็งตัวของหลอดเลือดในเซลล์กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด (vascular smooth muscle) ของหนูแรท พบว่าไวน์แดงมีฤทธิ์ยับยั้ง tyrosine phosphorylation ของ PDGFR ที่เหนี่ยวนำด้วยสาร PDGF-BB ยับยั้ง mitogen activated protein (MAP) kinase activation (Erk 1/2) เหนี่ยวนำยีน ได้แก่ Egr-1 และ c-fos  และยับยั้งการแบ...

839

ฤทธิ์ของสารสกัดจากกิ่งลำไยในการต้านการก่อกลายพันธุ์
ฤทธิ์ของสารสกัดจากกิ่งลำไยในการต้านการก่อกลายพันธุ์ และยับยั้งการสร้างไนตริกออกไซด์สารสกัดน้ำจากกิ่งลำไย ความเข้มข้น 2 - 10 มก./จานเพาะเชื้อ มีฤทธิ์ต้านการก่อกลายพันธุ์ เมื่อทดลองกับเชื้อ Salmonella typhimurium  TA 98 และ TA 100 ที่ถูกเหนี่ยวนำด้วยสารก่อกลายพันธุ์ 2-aminoanthracene (2-AA) และ 4-nitroquinoline-N-oxide (4-NQO) สารสกัดความเข้มข้น 0.05 - 0.6 มก./มล. และสารสำคัญหลักที่แยกจากสารสกัดน้ำ ได้แก่ ellagic acid, gallic acid และ epicatechin ความเข้มข้น 0.02 - 0.3 มก./มล. มีฤทธิ์ต้านอนุม...

110

ความเป็นพิษของสารกลุ่มอัลคิลฟีนอลในใบแป๊ะก๊วย
ความเป็นพิษของสารกลุ่มอัลคิลฟีนอลในใบแป๊ะก๊วย การเตรียมสารสกัดมาตรฐานใบแป๊ะก๊วย (Ginkgo biloba  L.) นอกจากต้องกำหนด ปริมาณสารสำคัญคือ flavones glycosides และ terpene lactones แล้ว ยังต้องกำหนดปริมาณสูงสุดของสารเป็นพิษ คือ ginkgolic acids โดยกำหนดไว้ไม่เกิน 5 ส่วนในล้านส่วน (ppm) การศึกษาเพื่อยืนยันความเป็นพิษของ ginkgolic acids ทำโดยนำส่วนที่ทิ้งจากขบวนการเตรียมสารสกัดมาตรฐานใบแป๊ะก๊วย ซึ่งเป็นส่วนที่สารกลุ่ม alkylphenols ส่...

258

สาร
สาร Stemoninine จากรากหนอนตายหยากสามารถยับยั้งอาการไอได้ สารสกัด bisdehydrostemoninine จากรากหนอนตายหยาก เมื่อฉีดเข้าทางช่องท้องของหนูตะเภาในขนาด 50, 70, และ 100 มก./กก. หลังจากนั้นประมาณ 30 นาที ให้หนูทุกกลุ่มได้รับกรดซิตริก ความเข้มข้น 0.5 โมล์ พ่นเป็นเวลา 8 นาที ด้วยอัตราความเร็ว 0.5 มล./นาที จากนั้นทำการบันทึกอาการไอของหนูอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะทำการเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมที่ใช้ยามาตรฐาน codeine phosphate (ขนาด 30 มก./กก. ฉีดเข้าทางช่องท้อง) ซึ่งพบว่าสารสกัด bisdehydrostemoninine ในข...

1216

ฤทธิ์ทำให้เกิดการตายแบบอะพอพโตซิสของเซลล์ของสารสกัดจากเห็ดน้ำแป้ง
ฤทธิ์ทำให้เกิดการตายแบบอะพอพโตซิสของเซลล์ของสารสกัดจากเห็ดน้ำแป้งเห็ดน้ำแป้ง (Russula alboareolata ) เป็นเห็ดกินได้ ที่พบในป่าแถบภาคอีสาน เมื่อนำสารสกัด 95% เอทานอลของเห็ดน้ำแป้งมาทดสอบฤทธิ์ในการทำให้เกิดการตายแบบอะพอพโตซิส (apoptosis) ของเซลล์ 3 ชนิด ได้แก่ เซลล์ไฟโบรบลาสต์ของหนูชนิด L929 เซลล์มะเร็งตับชนิด HepG2 และเซลล์มะเร็งปากมดลูกชนิด HeLa ที่ความเข้มข้น 600, 500 และ 1,000 มคก./มล. ตามลำดับ โดยเปรียบเทียบผลกับยาเคมีบำบัด valinomycin ความเข้มข้น 1 มคก./มล. พบว่า ยา valinomycin ทำให้เกิดการ...

119

การศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและพิษวิทยาของสารสกัดฝักคูน
การศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและพิษวิทยาของสารสกัดฝักคูน การศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสารสกัดฝักคูนซึ่งได้จากวิธีชงในหนูถีบจักรพบว่า ขนาดที่ให้ผลในการเป็นยาระบายคือ 100-500 มก./กก./ครั้ง การทดสอบยังพบว่ามีผลต้าน การหดตัวของลำไส้หนูตะเภาที่ตัดแยกจากลำตัวซึ่งเหนี่ยวนำด้วยเฟนโตลามีน (phentolamine) ความเข้มข้น 10-8M การทดสอบความเป็นพิษพบว่า เมื่อฉีดสารสกัดเข้าหลอดเลือดหนูถีบจักร ขนาดที่ทำให้สัตว์ทดลองตายครึ่งหนึ่งคือ 6.6 ก./กก. เมื่อตรวจสอบชิ้นเนื้อของตับ ไตและลูกอัณฑะ ไม่พบความผิดปกติ แ...

1424

ผลของความร้อนในการสกัดกระเจี๊ยบแดงต่อสารสำคัญและฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์
ผลของความร้อนในการสกัดกระเจี๊ยบแดงต่อสารสำคัญและฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ α-glucosidaseการเปรียบเทียบฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ α-glucosidase ของสารสกัดกระเจี๊ยบแดง (Hibiscus sabdariffa Linn.) ที่ได้จากการสกัดผงกระเจี๊ยบแดงแห้ง 2 กรัม ด้วยน้ำกลั่น 200 มล. โดยวิธีที่แตกต่างกัน 3 วิธี คือ 1. วิธีต้ม (ต้มผงกระเจี๊ยบแดงในน้ำเดือดนาน 5 นาที) 2. วิธีชง (เติมน้ำเดือดลงในผงกระเจี๊ยบแดง แช่ทิ้งไว้ 5 นาที) และ 3. วิธีหมัก (หมักผงกระเจี๊ยบแดงในน้ำโดยกวนน้ำที่ความเร็ว 100 รอบ/นาที นาน 5 นาที และเก็บไว้ที่อุณหภ...