Menu

ข่าวความเคลื่อนไหว ผลวิจัยจากการทดลอง ของ สมุนไพร ชนิดต่างๆ

ประสิทธิผลและความปลอดภัยของสารสกัดรวงข้าวหอมมะลิต่อการชะลอความเสื่อมของผิวหนัง

J Ethnopharmacol 2016;193:607-16.

ข้อมูลอ้างอิงจาก : ข่าวความเคลื่อนไหวสมุนไพร : สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

1

2

3

4

5

6

บทความอื่นๆ

589

ผลของการบริโภคน้ำมันมะพร้าวต่อค่าชีวเคมีและสัดส่วนของร่างกาย
ผลของการบริโภคน้ำมันมะพร้าวต่อค่าชีวเคมีและสัดส่วนของร่างกายการศึกษาแบบ Randomized, double-blind, clinical trial ในผู้หญิงที่มีภาวะอ้วนจำนวน 40 คน อายุระหว่าง 20-40 ปี แบ่งอาสาสมัครออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 20 คน ให้รับประทานผลิตภัณฑ์เสริมอาหารน้ำมันถั่วเหลืองหรือน้ำมันมะพร้าว วันละ 30 มล. ร่วมกับการรับประทานอาหารแคลอรี่ต่ำและการออกกำลังกายโดยการเดินวันละ 50 นาที เป็นเวลา 12 สัปดาห์ เมื่อทำการวัดค่าชีวเคมีและสัดส่วนของอาสาสมัครหลังจบการทดลอง 1 สัปดาห์พบว่าทั้งสองกลุ่มมีดัชนีมวลกาย (BMI) ลดลง แต่เฉ...

753

สารสกัดจากข่าช่วยป้องกันโรคอัลไซเมอร์
สารสกัดจากข่าช่วยป้องกันโรคอัลไซเมอร์การศึกษาฤทธิ์ป้องกันการเกิดอัลไซเมอร์ของสารสกัดเอทานอลจากข่าในหนูเม้าส์โดยการป้อนสารสกัดเอทานอลจากข่าขนาด 200 หรือ 400 มก./กก. ให้แก่หนูเม้าส์เป็นเวลา14 วันก่อนกระตุ้นให้เกิดอาการอัลไซเมอร์โดยการฉีดสารAmyloid β(25-35) (Aβ) ขนาด 10 มคก. เข้าทางโพรงสมองในวันที่ 15และป้อนสารสกัดจากข่าต่อเนื่องไปจนครบ 21วัน จากการสังเกตพฤติกรรมและการทำงานของสมองส่วนความจำโดยวิธี Morris water maze(การทดสอบการเรียนรู้และความเข้าใจ ซึ่งหนูจะต้องจดจำตำแหน่งของแท่นพักกลางอ่า...

1187

สารสกัดบัวบกกระตุ้นการทำงานของสารต้านอนุมูลอิสระและไมโตคอนเดรียและการปรับปรุงการเรียนรู้ของหนู
สารสกัดบัวบกกระตุ้นการทำงานของสารต้านอนุมูลอิสระและไมโตคอนเดรียและการปรับปรุงการเรียนรู้ของหนูการทดลองในหนูเม้าส์เพศผู้ และเพศเมีย ที่มีอายุ 20 เดือน และ 2 เดือน โดยแบ่งกลุ่มหนูตามเพศ และอายุ ให้หนูกินน้ำดื่มที่มีสารสกัดน้ำจากบัวบกขนาด 2 ก./ล. นาน 2 สัปดาห์ และกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับสารสกัดบัวบก จากนั้นวัดการเรียนรู้ของหนูด้วยวิธี Morris Water Maze (MWM) พบว่าในช่วงที่หนูเห็น platform ไม่มีความแตกต่างกันในทุกกลุ่ม แต่ในช่วงที่มองไม่เห็น platform ในวันที่ 5 ของการทำ MWM พบว่าหน...

1028

ฤทธิ์ลดไขมันของกระเจี๊ยบมอญ
ฤทธิ์ลดไขมันของกระเจี๊ยบมอญการศึกษาฤทธิ์ลดไขมันของกระเจี๊ยบมอญ (Abelmoschus esculentus Linn.) ในหนูเม้าส์ โดยแบ่งออกเป็นกลุ่มที่กินอาหารไขมันสูง กลุ่มที่กินอาหารไขมันสูงเสริมด้วยผงกระเจี๊ยบมอญ 1% และ 2% เป็นเวลา 8 สัปดาห์ พบว่าหนูที่ได้รับอาหารเสริมด้วยกระเจี๊ยบมอญ จะมีระดับคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ในตับและในเลือดลดลง และเพิ่มการขับกรดน้ำดีออกทางอุจจาระ เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้รับกระเจี๊ยบมอญ โดยกลไกในการออกฤทธิ์คือ เพิ่มการแสดงออกของเอนไซม์ cholesterol 7α-hydroxylase (CYP7A1) ซึ่งเก...

27

สารCarbazole
สารCarbazole alkaloid ชนิดใหม่จากโปร่งฟ้า สาร siamenol ซึ่งเป็นสาร carbazole alkaloid ชนิดใหม่จากโปร่งฟ้า (Murraya siamensis Craib. ) แสดงฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ HIV โดยมีค่า EC502.6 microgram / ml โดยเมื่อทำการทดลองโดยวิธี XTT-tetrazolium assay และสาร alkaloid ที่เคยค้นพบแล้วคือสาร mahanimbilol จะมีฤทธิ์น้อยกว่าโดยมีค่า EC 508.6 microgram / ml ส่วนสาร mahanimbine ไม่มีฤทธิ์ในการยับยั้งJ Nat Prod 2000 ; 63(3) : 427-28 ...

911

ผลของสารสกัดพรมมิต่อภาวะดื้อมอร์ฟีน
ผลของสารสกัดพรมมิต่อภาวะดื้อมอร์ฟีนการทดสอบฤทธิ์ของสารสกัด n-Butanol (n Bt-ext BM) จากส่วนเหนือดินของต้นพรมมิ (Bacopa monnieri ) ซึ่งประกอบด้วยสารสำคัญ Bacopaside A, Bacoside A3, Bacopaside ll และ Bacosaponin C ในหนูเม้าส์ที่ทำให้เกิดภาวะปวดด้วยแผ่นให้ความร้อน (Hot Plate method) โดยแบ่งเป็น การทดสอบฤทธิ์บรรเทาอาการปวดของ n Bt-ext BM โดยฉีด n Bt-ext BM เข้าทางช่องท้องหนูในขนาด 5, 10 และ 15 มก./กก. การทดสอบผลต่อฤทธิ์บรรเทาปวดของมอร์ฟีนร่วมกับ n Bt-ext BM โดยฉีด n Bt-ext BM เข้าทางช่องท้องหนู...

545

ผลของสาร
ผลของสาร Δ9-Tetrahydrocannabinol และ Cannabidiol จากกัญชา กับผลต่อระบบประสาทและอาการวิตกกังวลสาร Δ9-tetrahydrocannabinol (Δ9-THC) และ cannabidiol (CBD) เป็นสารสำคัญในกัญชา (Cannabis sativa  ) มีผลต่อระบบประสาท โดยมีรายงานว่าสารดังกล่าวสามารถรักษาอาการวิตกกังวลได้ แต่ยังไม่ทราบกลไก การทดสอบทางคลินิกแบบ double-blind, randomized, placebo-controlled ในอาสาสมัครสุขภาพดีจำนวน 15 คน ซึ่งเคยใช้กัญชา ≤15 ครั้ง โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ให้รับประทานสาร Δ9-THC ขนาด 10 ม...

1264

ฤทธิ์ลดอาการเหนื่อยล้าของฟ้าทะลายโจร
ฤทธิ์ลดอาการเหนื่อยล้าของฟ้าทะลายโจรการศึกษาทางคลินิกแบบ a randomised double-blind placebo-controlled trial ในผู้ป่วยโรคมัลติเพิลสเกลอโรซิส หรือโรคเอ็มเอส หรือปลอกประสาทอักเสบ ที่พบการเป็นซ้ำ (relapsing-remitting multiple sclerosis; RRMS) และได้รับการรักษาด้วย interferon beta (IFN-β) จำนวน 22 คน อายุระหว่าง 18-50 ปี โดยแบ่งออกเป็นกลุ่มที่ได้รับยาเม็ดสารสกัดฟ้าทะลายโจร (Andrographis paniculata (Burm.f.) Nees) 170 มก. (ประกอบด้วยสาร andrographolides 85 มก.) ทุก 12 ชั่วโมง ต่อเนื่องเป็นเวลา 12...

929

ผลของการรับประทานสารสกัดเคอร์คูมินอยด์จากขมิ้นชันในผู้ป่วยโรคอ้วนที่มีไขมันในเลือดสูง
ผลของการรับประทานสารสกัดเคอร์คูมินอยด์จากขมิ้นชันในผู้ป่วยโรคอ้วนที่มีไขมันในเลือดสูงการศึกษาแบบปกปิดทั้งสองฝ่าย และสลับกลุ่ม (randomized double blind crossover trial) ในผู้ป่วยโรคอ้วนอายุ 18-65 ปี ที่มีไขมันในเลือดสูง โดยแบ่งผู้ป่วยออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 รับประทานสารสกัดเคอร์คูมินอยด์จากขมิ้นชัน 1 กรัม/วัน กลุ่มที่ 2 ได้รับยาหลอก นาน 30 วัน และทำการสลับกลุ่ม โดยมีช่วงพักก่อนการสลับกลุ่มนาน 2 สัปดาห์ พบว่ากลุ่มที่ได้รับสารสกัดคูเคอร์มินอยด์ระดับไตรกลีเซอร์ไรด์ในเลือดลดลง แต่ไม่มีผลต่อระด...